Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24318
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิรุฬห์ ลีลาพฤทธิ์-
dc.contributor.authorวิเชียร ชิวพิมาย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-11-16T07:56:51Z-
dc.date.available2012-11-16T07:56:51Z-
dc.date.issued2518-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24318-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2518en
dc.description.abstractความมุ่งหมาย การสร้างสถานการณ์จำลองปัญหาการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1. จัดสร้างสถานการณ์จำลองปัญหาการสอนวิทยาศาสตร์ 2. นำสถานการณ์จำลองที่สร้างขึ้นให้นิสิตทดลองใช้ฝึกการแก้ปัญหาเพื่อหาประสิทธิภาพ วิธีดำเนินงาน ผู้วิจัยได้ศึกษาวิธีการสร้างสถานการณ์จำลองจากเอกสาร คู่มือ และศึกษาพัฒนาการของสถานการณ์จำลองที่มีผู้สร้างไว้แล้วทั้งภายในประเทศและจากต่างประเทศ หลังจากนั้นจึงศึกษาเนื้อหาวิชาที่จะนำมาสร้างสถานการณ์จำลอง โดยเลือกปัญหาการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ 4 ปัญหา 1. ปัญหาการสอนความคิดรวบยอดเรื่องดอกไม้ 2. ปัญหาการเลือกอุปกรณ์การสอนเรื่องส่วนประกอบของพืชชั้นสูงหรือพืชดอก 3. ปัญหาการสาธิตอุปกรณ์การสอนเรื่องการกลั่นแยกของเหลวที่มีจุดเดือดต่างกันออกจากกัน 4. ปัญหาการใช้อุปกรณ์การกลั่น เสร็จแล้วได้ประชุมพิจารณาถึงปัญหาที่นำมาสร้างสถานการณ์จำลองโดยใช้สื่อต่างๆตามลำดับคือ 1) บทเรียนแบบโปรแกรม 2) เทปบันทึกภาพ 3) การแสดงบทบาท 4 ) การบรรยายเรื่อง เมื่อสร้างสถานการณ์จำลองเสร็จแล้วจึงทำการประเมินผลคุณภาพสถานการณ์จำลอง โดยผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาสถานการณ์จำลองที่จัดสร้างขึ้น หลังจากนั้นจึงทำการทดลองหาประสิทธิภาพกับนิสิตชั้นปีที่ 3 คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่ผ่านการเรียนวิชาระเบียบวิธีสอนมาแล้ว ผลการวิจัย จากการทดลองใช้สถานการณ์จำลองของนิสิตผลปรากฏว่าสถานการณ์จำลองเป็นอุปกรณ์การศึกษาที่สามารถนำมาใช้ฝึกแก้ปัญหาการเรียนการสอนก่อนที่จะออกไปฝึกสอนได้ จากแบบสอบถามความคิดเห็นนิสิตส่วนใหญ่เห็นด้วยกับการนำสถานการณ์จำลองมาใช้ฝึกแก้ปัญหาก่อนที่จะออกไปสอนจริง ข้อเสนอแนะ สถานการณ์จำลองเป็นอุปกรณ์ที่สามารถนำมาใช้ฝึกแก้ปัญหาการเรียนการสอนของนิสิต ก่อนที่จะออกฝึกสอน ดังนั้นควรที่นักเทคโนโลยี นักการศึกษาและผู้บริหารการศึกษาควรจะพิจารณาส่งเสริมให้มีการสร้างสถานการณ์จำลองและการใช้สถานการณ์จำลองในระดับขั้นต่างๆอย่างกว้างขวางเพื่อการพัฒนาการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ-
dc.description.abstractPurpose : The purpose of this study was two told: (1) to construct simulation models in Teaching Science Problems, and (2) to find the effectiveness of the simulation models, Frocedure : First, the auther reviewed the development, of simulations and simulation techniques Second1, four problems in teaching science were selected, namely (1) Flower Conceptual Teaching Problems, (2) Problems off Teaching Aid1 Selection, (3) Problems Demonstration in Teaching " Distillation Instrument " and (4) Problems in utilization: of Distillation Instruments, Third, these selected teaching science problems were confered with the Committee for Simulation Model Production for approval. Fourth, the models on selected problem were made respectively on a programmed lesson, a videotape, roleplaying and a written incident. Fifth, the completed models were validated by the Validating- Committee„ And finally the models were tried- out with 20 randomly selected third year students who have already taken the course "Teaching Methods” to find out their effectiveness .Major Finding Most students who had participated in the tryout accepted the advantages of the simulation models in providing pre-student teaching experiences in solving teaching problems The students agreed that these simulation models, along with other simulation models, should be given to the student teacher before starting their practice teaching in the real situations. The simulation models have proved to be 15 effective in providing pre-student teaching experience, the teacher training colleges are encouraged to employe more of simulation techniques in teacher training Furthermore, research in production and utilization of simulations should be promoted for more effective simulation models in the future.-
dc.format.extent525368 bytes-
dc.format.extent1660578 bytes-
dc.format.extent1745358 bytes-
dc.format.extent651155 bytes-
dc.format.extent653858 bytes-
dc.format.extent372635 bytes-
dc.format.extent2535238 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectวิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน-
dc.subjectสถานการณ์จำลอง (การสอน)-
dc.titleการสร้างสถานการณ์จำลอง : ปัญหาการสอนวิชาวิทยาศาสตร์en
dc.title.alternativeA simulation techniques : teaching science problemsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineโสตทัศนศึกษา-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Vichien_Ch_front.pdf513.05 kBAdobe PDFView/Open
Vichien_Ch_ch1.pdf1.62 MBAdobe PDFView/Open
Vichien_Ch_ch2.pdf1.7 MBAdobe PDFView/Open
Vichien_Ch_ch3.pdf635.89 kBAdobe PDFView/Open
Vichien_Ch_ch4.pdf638.53 kBAdobe PDFView/Open
Vichien_Ch_ch5.pdf363.9 kBAdobe PDFView/Open
Vichien_Ch_back.pdf2.48 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.