Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24321
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ดลยา เทียนทอง | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันเอเชียศึกษา | - |
dc.date.accessioned | 2012-11-16T08:11:50Z | - |
dc.date.available | 2012-11-16T08:11:50Z | - |
dc.date.issued | 2553 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24321 | - |
dc.description | ได้รับการสนันสนุนทุนวิจัยประเภทอุดหนุนทั่วไปจากรัฐบาลประจำปีงบประมาณ 2552 ประเภทผลงานวิจัยเพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยี ประจำปี 2552 | en |
dc.description.abstract | รายงานวิจัย เรื่อง “การแสวงหาความร่วมมือกับประเทศในเอเชียกลางเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงด้านพลังงานของไทยในอนาคต” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์ด้านพลังงานของโลกและไทย รวมทั้งนโยบายและยุทธศาสตร์ในการรองรับและสร้างความมั่นคงด้านพลังงานของไทย นอกจากนี้ยังศึกษาวิเคราะห์แนวทางในการจะพัฒนาความร่วมมือด้านพลังงานระหว่างไทยกับประเทศในเอเชียกลางในอนาคต รวมถึงปัญหาและอุปสรรคที่จะมีต่อความร่วมมือ ผลการศึกษาวิจัยพบว่านับจากทศวรรษที่ 1970 เป็นต้นมา กระทั่งเมื่อเข้าสู่ทศวรรษที่ 2000 ราคาน้ามันโลกมีความผันผวนและไต่ระดับสูงมากขึ้นเรื่อย ๆ จนประสบกับภาวะวิกฤตหลายครั้ง สถานการณ์ดังกล่าวได้ส่งผลกระทบต่อประเทศไทย ซึ่งยังคงพึ่งพาการนาเข้าน้ามันจากต่างประเทศ ด้วยเหตุนี้รัฐบาลไทยแต่ละยุคสมัยจึงจาเป็นต้องจัดทานโยบายและแผนพลังงานเพื่อรับมือกับวิกฤตการณ์ราคาน้ามันโลกที่เกิดขึ้นในตลอดช่วงระยะเวลาที่ผ่านมา ทั้งนี้การจัดทานโยบายและแผนพลังงานประการหนึ่งที่สาคัญ คือ การจัดหาพลังงานจากต่างประเทศและการมุ่งส่งเสริมก๊าซธรรมชาติเป็นพลังงานทางเลือกใหม่ นอกจากนี้ผลการศึกษาวิจัยยังพบว่าเอเชียกลางเป็นอีกภูมิภาคที่มีศักยภาพในการเป็นแหล่งพลังงานภายนอกประเทศที่น่าสนใจสาหรับไทยในอนาคต โดยเฉพาะอย่างยิ่ง 3 ประเทศในภูมิภาคเอเชียกลาง ได้แก่ คาซัคสถาน เติร์กเมนิสถาน และอุซเบกิสถาน เนื่องจากมีพื้นฐานของความอุดมสมบูรณ์ในเรื่องก๊าซธรรมชาติ ประกอบการอุตสาหกรรมพลังงานในประเทศเหล่านี้ยังเติบโตได้อีกมาก อีกทั้งยังเป็นกลุ่มประเทศที่กาลังมีการปฏิรูปเศรษฐกิจและพัฒนาประเทศไปสู่ความทันสมัย แต่ในขณะเดียวกันก็ยังพบอุปสรรคหลายประการที่มีต่อผลการจะพัฒนาความร่วมมือด้านพลังงานระหว่างกัน ได้แก่ เสถียรภาพทางการเมืองภายในประเทศเหล่านี้ ความห่างไกลด้านระยะทาง ความไม่คุ้นเคยระหว่างกันในทางการเมือง สังคมและวัฒนธรรม อย่างไรก็ดี เพื่อให้การพัฒนาความร่วมมือด้านพลังงานระหว่างไทยกับประเทศในเอเชียกลางที่เป็นประเทศเป้าหมายมีความเป็นรูปธรรมมากขึ้นในอนาคต ไทยจะต้องมียุทธศาสตร์เชิงรุกด้านพลังงานระหว่างประเทศ โดยอาศัยกรอบความร่วมมือทั้งระดับทวิภาคีและพหุภาคี | en |
dc.description.abstractalternative | The main purposes of research project is : to study the world energy situation , Thailand energy situation, policy and strategy for strengthening energy security ; to analyze and propose obstacle factors and methods for Thailand to develope energy cooperation between Thailand and Central Asia countries in the future. The finding of research project, situations of world oil price rose, fluctuated until peaked many times during the 1970s and 2000s. These situations effected Thailand which depended on oil importing from outside. Consequently, government of Thailand had to formulate and implement energy policy and plan for procuring energy from countries in regions and promoting the use of natural gas for new alternative energy. It is clear that Central Asia is another interesting region for Thailand in the future because of energy capacity. The focal countries in Central Asia are Kahzakstan, Turkmenistan and Uzbekistan, they are focus on abundant natural gas. Not only energy industries among focal countries can considerably grow up but they also prepare for modern countries soon. Nevertheless, development of energy cooperation between Thailand and focal countries in Central Asia has obstacle factors . For example, a stability in domestic politics in focal countries in Central Asia, long distance and the unfamiliar relations in politics, social and culture aspects between them. However, in order to develop energy cooperation between Thailand and focal countries in Central Asia in the future, government of Thailand will have to move proactive strategy of international energy in both bilateral and multilateral levels | en |
dc.format.extent | 4323521 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | อุตสาหกรรมน้ำมัน | en |
dc.subject | ปิโตรเลียม -- ราคา | en |
dc.subject | พลังงาน -- ความร่วมมือระหว่างประเทศ | en |
dc.title | การแสวงหาความร่วมมือกับประเทศในเอเชียกลางเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงด้านพลังงานของไทยในอนาคต : รายงานวิจัย | en |
dc.title.alternative | Seeking of cooperation with Central Asia countries to strengthen Thailand’s energy security in the future | en |
dc.type | Technical Report | es |
dc.email.author | Dallaya.T@chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Asia - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
dallaya_ti.pdf | 4.22 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.