Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24341
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมณฑา พิมพ์ทอง-
dc.contributor.authorปิยะวรรณ ทรัพย์สำรวม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-11-16T08:59:34Z-
dc.date.available2012-11-16T08:59:34Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24341-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en
dc.description.abstractศึกษาแนวคิดเรื่องรัฐชาติในวรรณกรรมของอะกุตะงะวะ ริวโนะซุเกะ และวิเคราะห์ทัศนะของอะกุตะงะวะ ริวโนะซุเกะ ต่อแนวคิดเรื่องรัฐชาติที่ปรากฏในวรรณกรรม ในการศึกษาแนวคิดเรื่องรัฐชาติที่ปรากฏในวรรณกรรมของอะกุตะงะวะ ริวโนะซุเกะนี้ ผู้วิจัยใช้ผลงานทั้งหมด 11 เรื่อง ได้แก่ “ทะอิกะอิโสะกุ” “เม็นสุระโสะอิริ” “โทฌิฌุน” “อะงุนิโนะคะมิ” “เซ็นนิน” “ดะอิยงโนะอตโตะคะระ” “ฟุฌิงินะฌิมะ” “อุมะโนะอะฌิ” “อันชูมนโด” “คัปปะ” และ “เนิยวเซ็น” เพื่อศึกษาลักษณะของการสร้างตัวละคร ฉาก และแก่นเรื่องที่ปรากฏในเนื้อเรื่องโดยเชื่อมโยงกับปัจจัยที่สำคัญของแนวคิดเรื่องรัฐชาติ ได้แก่ พลเมือง พรมแดน และอำนาจอธิปไตย รวมถึงวิเคราะห์ทัศนะของอะกุตะงะวะต่อแนวคิดเรื่องรัฐชาติที่สอดแทรกเอาไว้ในผลงานดังกล่าว จากการศึกษาพบว่าผลงานของอะกุตะงะวะในขอบเขตที่ศึกษาสะท้อนแนวคิดเรื่องรัฐชาติ ซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากแนวคิดของตะวันตก และมีรากฐานมาจากการปฏิรูปประเทศเข้าสู่สมัยใหม่ อิทธิพลดังกล่าวสะท้อนอยู่ในลักษณะการสร้างตัวละคร ฉาก และแก่นเรื่องในผลงานเรื่อง “ทะอิกะอิโสะกุ” “เม็นสุระโสะอิริ” “โทฌิฌุน” “อะงุนิโนะคะมิ” “ดะอิยงโนะอตโตะคะระ” “ฟุฌิงินะฌิมะ” “อุมะโนะอะฌิ” “อันชูมนโด” และ “คัปปะ” นอกจากนี้ การเปรียบเทียบลักษณะของผลงานเรื่อง “โทฌิฌุน” “เซ็นนิน” และ “เนิยวเซ็น” ซึ่งเป็นผลงานที่ไม่ได้เน้นประเด็นเรื่องรัฐชาติ ทำให้ผู้วิจัยเห็นว่าทัศนะคติที่อะกุตะงะวะ ริวโนะซุเกะมีต่อแนวคิดเรื่องรัฐชาตินั้น เป็นทัศนคติในเชิงไม่เห็นด้วยกับแนวคิดเรื่องรัฐชาติแบบตะวันตกทั้งหมด โดยได้แฝงน้ำเสียงเสียดสี รวมถึงตั้งคำถามต่อแนวคิดดังกล่าวไว้ในผลงานอย่างต่อเนื่องen
dc.description.abstractalternativeTo study the concept of the Nation State in Akutagawa Ryuunosuke’s literary works; “Taikaizoku” “Mensura Zoili” “Toshishun” “Aguninokami” “Sennin” “Daiyonnoottokara” “Fushiginashima” “Umanoashi” “Anchuumondou” “Kappa” and “Nyosen”; and to analyze his views toward the concept of the Nation State. The concept of The Nation State will be studied toward details on characters scenes and themes of stories and compared with 3 main factors of the Nation State which are citizen, territory and sovereignty. The results of study show that “Taikaizoku” “Mensura Zoili” “Toshishun” “Aguninokami” “Daiyonnoottokara” “Fushiginashima” “Umanoashi” “Anchuumondou” and “kappa” were influenced in many respects in the concept of the Nation State which effected by restoration in European or Western countries. Beside, “Toshishun” “Sennin” and “Nyonen” which do not show the details about the concept of the Nation State clearly, reflect the writer’s negative view on the Nation State by using irony setting and continuously raise many problems in his works.en
dc.format.extent2442598 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1841-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectอะกุตะงะวะ, ริวโนะซุเกะ, ค.ศ. 1892-1927en
dc.subjectวรรณกรรมญี่ปุ่น -- ประวัติและวิจารณ์en
dc.subjectรัฐชาติen
dc.subjectAkutagawa, Ryunosuke, 1892-1927en
dc.subjectJapanese literature -- History and criticismen
dc.subjectNation-stateen
dc.titleแนวคิดเรื่องรัฐชาติในวรรณกรรมของอะกุตะงะวะ ริวโนะซุเกะen
dc.title.alternativeThe concept of the nation state in Agutagawa Ryuunosuke' s literary worksen
dc.typeThesises
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineภาษาญี่ปุ่นes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorMontha.P@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.1841-
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
piyawan_sa.pdf2.39 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.