Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2448
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธาดา สืบหลินวงศ์ | - |
dc.contributor.author | เพียงเทพ จิรรัตนโสภา | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2006-09-13T07:52:07Z | - |
dc.date.available | 2006-09-13T07:52:07Z | - |
dc.date.issued | 2545 | - |
dc.identifier.isbn | 9741722109 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2448 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 | en |
dc.description.abstract | ที่มาและเหตุผล: เนื่องจากผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายที่ได้รับการรักษา ด้วยการล้างช่องท้องอย่างถาวรจะเกิด carbonyl stress ทำให้มีการสะสมของสาร RCOs และ AGEs มีผลให้ประสิทธิภาพในการขนส่งสารและน้ำของเยื่อบุช่องท้องผิดปกติ ทำให้ผู้ป่วยมีอัตราการเจ็บป่วยและอัตราการตายที่สูงขึ้น ดังนั้นจึงได้มีการศึกษาเพื่อยับยั้งการเกิด RCOs และ AGEs หลายวิธี โดยพบว่าวิตามินอีซึ่งเป็น antioxidant ที่มีผลข้างเคียงน้อยสามารถลดภาวะ carbonyl stress ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายที่ได้รับการรักษาโดยการฟอกเลือด แต่ยังไม่มีการศึกษาในผู้ป่วย CAPD จึงเป็นที่มาของการศึกษานี้ วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาเปรียบเทียบระดับ RCOs ใน พลาสมา RCOsในน้ำยา dialysate ประสิทธิภาพในการขนส่งสาร และน้ำผ่านเยื่อบุช่องท้อง การสูญเสียอัลบูมินในน้ำยา dialysate ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายที่ได้รับการรักษาด้วยการล้างช่องท้องอย่างถาวร ในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ก่อนและหลังการบริหารวิตามินอีทางปาก ตัวอย่างและวิธีการศึกษา: การศึกษานี้เป็นการวิจัยแบบทดลองในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย ที่ได้รับการรักษาด้วยการล้างช่องท้องอย่างถาวรทั้งสิ้นจำนวน 16 ราย โดยผู้ป่วยทุกรายจะรับประทานวิตามินอีขนาด 800 ยูนิต/วัน นาน 3 เดือน ทดสอบ modified PET หาระดับ RCOs ในพลาสมา RCOs ในน้ำยา dialysate และอัลบูมินในน้ำยา dialysate ก่อนรับประทานวิตามินอี หลังรับประทานวิตามินอีนาน 1.5, 3 เดือน และหลังหยุดรับประทานวิตามินอีนาน 1.5 เดือน ผลการศึกษา: การบริหารวิตามินอีทางปากในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย ที่ได้รับการรักษาด้วยการล้างช่องท้องอย่างถาวรมีผลข้างเคียงน้อย และไม่มีผลต่อการขนส่งสารผ่านเยื่อบุช่องท้อง การสูญเสียอัลบูมินในน้ำยา dialysate ปริมาณ net ultrafiltration ระดับ RCOs ในพลาสมาและในน้ำยา dialysate สรุป: การบริหารวิตามินอีทางปากไม่สามารถเปลี่ยนแปลงการขนส่งของสารและน้ำผ่าน เยื่อบุช่องท้อง และไม่มีผลในการลด carbonyl stress ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายที่ได้รับการรักษาด้วยการล้างช่องท้องอย่างถาวร ซึ่งอาจเกิดจากปริมาณวิตามินอีที่ต่ำเกินไป ระยะเวลาในการให้วิตามินอีสั้นเกินไป หรือวิธีการให้วิตามินอีที่ไม่เหมาะสม | en |
dc.description.abstractalternative | Background: The development of carbonyl stress with accumulation of reactive carbonyl compounds (RCOs) and advanced glycation end products (AGEs) in peritoneal membrane can change peritoneal membrane transport, increase morbidity and mortality of chronic ambulatory peritoneal dialysis (CAPD) patients. Many strategies aim to inhibit RCOs and AGEs synthesis. Vitamin E possesses antioxidant activity has been used safely and effectively to reduce carbonyl stress in hemodialysis patients but its efficacy in CAPD patients is unknown. Objectives: The present study was conducted to determine the efficacy of oral route vitamin E on plasma RCOs, dialysate RCOs, peritoneal transport and dialysate albumin loss in CAPD patients. Method: An experimental prospective study was performed in 16 stable CAPD patients. All patients were given oral vitamin E at the dose of 800 unit/day for 3 months. Modified peritoneal equilibration test was done and the measurement of plasma RCOs, dialysate RCOs, dialysate albumin at the time before and 1.5, 3 months after giving vitamin E, finally after stop vitamin E for 1.5 months. Outcome: The results show that oral route vitamin E exhibited a minimal side effect and no effect in peritoneal solute transport, dialysate albumin loss, net ultrafiltration volume, plasma and dialysate RCOs in CAPD patients. Conclusion: Oral route vitamin E not only no effect on peritoneal solute and water transport but also no effect in reducing carbonyl stress of CAPD patients. The lack of efficacy of oral route vitamin E in the study may be due to inadequate vitamin E dose, duration of treatment or inappropriate route | en |
dc.format.extent | 753605 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | en |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | วิตามินอี | en |
dc.subject | ไตวายเรื้อรัง | en |
dc.subject | ไตวายเรื้อรัง--ผู้ป่วย | en |
dc.title | ผลของวิตามินอีต่อภาวะคาร์บอนิวสเทรสในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย ที่ได้รับการรักษาทดแทนด้วยการล้างช่องท้องอย่างถาวร | en |
dc.title.alternative | Efficacy of vitamin E in carbonyl stress of chronic ambulatory peritoneal dialysis patients | en |
dc.type | Thesis | en |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en |
dc.degree.discipline | อายุรศาสตร์ | en |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Tada.S@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Med - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Piengtap.pdf | 706.89 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.