Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2453
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมชาย เอี่ยมอ่อง | - |
dc.contributor.advisor | สมพงษ์ สุวรรณวลัยกร | - |
dc.contributor.author | พิสุทธิ์ กตเวทิน | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2006-09-13T08:34:41Z | - |
dc.date.available | 2006-09-13T08:34:41Z | - |
dc.date.issued | 2546 | - |
dc.identifier.isbn | 9741742665 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2453 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 | en |
dc.description.abstract | ความเป็นมา ปริมาณทีจีเอฟเบตาในปัสสาวะมีความสัมพันธ์กับความเสื่อมของไตเนื่องจากโรคไตจากเบาหวาน มีการศึกษาในผู้ป่วยเบาหวานที่มีโรคไตจากเบาหวานในระยะไมโครอัลบูมินนูเรียพบว่ายาในกลุ่มไธอะโซลิดีนไดโอนสามารถลดปริมาณโปรตีนในปัสสาวะได้ วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของยาไพโอกลิตาโซนซึ่งเป็นยาในกลุ่มไธอะโซลิดีนไดโอนต่อปริมาณทีจีเอฟเบตาในปัสสาวะของผู้ป่วยเบาหวานที่มีโรคไตจากเบาหวานในระยะแมคโครอัลบูมินนูเรีย วิธีการศึกษา ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มีปริมาณโปรตีนในปัสสาวะมากกว่า 500 มิลลิกรัมต่อวัน จำนวน 30 รายถูกแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มโดยการสุ่ม กลุ่มแรกได้รับยาไพโอกลิตาโซนในขนาด 30 มิลลิกรัมต่อวัน กลุ่มที่ 2 ได้รับยาหลอก โดยทำการศึกษาเป็นเวลา 12 สัปดาห์ ผลการศึกษา ผู้ป่วยทั้ง 2 กลุ่มมีการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและความดันโลหิตไม่แตกต่างกัน ปริมาณทีจีเอฟเบตาในปัสสาวะของผู้ป่วยในกลุ่มที่ได้รับยาไพโอกลิตาโซนลดลงร้อยละ 47.8 ซึ่งแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p=0.011) จากผู้ป่วยที่ได้รับยาหลอกซึ่งมีปริมาณทีจีเอฟเบตาในปัสสาวะเพิ่มขึ้นร้อยละ 59.7 ผู้ป่วยในกลุ่มที่ได้รับยาไพโอกลิตาโซนมีปริมาณโปรตีนในปัสสาวะลดลงจาก 1.64 เป็น 0.98 กรัมต่อวัน หรือ ลดลงร้อยละ 40.1 ซึ่งแตกต่างจากผู้ป่วยในกลุ่มที่ได้รับยาหลอกที่ปริมาณโปรตีนในปัสสาวะเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.3 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p=0.016) สรุป นอกจากผลในการลดระดับน้ำตาลในเลือดแล้วยาไพโอกลิตาโซนยังสามารถลดปริมาณทีจีเอฟเบตาและปริมาณโปรตีนในปัสสาวะได้ ในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มีโรคไตจากเบาหวาน | en |
dc.description.abstractalternative | Background: Urinary excretion of transforming growth factor-beta (TGF-beta) are associated with progression of diabetic nephropathy (DN). Thiazolidinediones could reduce urinary protein excretion in patients with microalbuminuric DN. Objective: To evaluate the effect of pioglitazone, a thiazolidinedione, on urinary TGF- beta excretions in type 2 diabetic patients with macroalbuminuria. Methods: Patients with type 2 diabetes with macroalbuminuria (albuminuria > 300 mg/d or proteinuria > 500 mg/d) were randomly assigned to receive pioglitazone (30mg/d, n=14) or placebo (n=16), for 12 weeks. Results: Glycemic control and blood pressure in both groups were not significantly different. Urinary TGF- beta excretion was decreased by 47.8% in the pioglitazone group but was elevated by 59.7% in the placebo group (p=0.011). Urinary protein excretion in the pioglitazone group was reduced from 1.64 to 0.98 gram/day (g/d), or 40.1% which was significantly different (p=0.016) from the 4.3% increase (from 1.72 to 1.80 g/d)in the placebo group. Conclusions: Besides the effectiveness in blood sugar control, pioglitazone could salutarily reduce urinary TGF- beta excretion and proteinuria in type 2 diabetic patients with macroalbuminuria | en |
dc.format.extent | 1179590 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | en |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | เบาหวาน -- ผู้ป่วย | en |
dc.subject | เบาหวาน -- การรักษาด้วยยา | en |
dc.title | ผลของยาไพโอกลิตาโซนต่อปริมาณทีจีเอฟเบตาในปัสสาวะของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มีแมคโครอัลบูมินนูเรีย | en |
dc.title.alternative | Effect of pioglitazone on urinary transforming growth factor-beta in type 2 diabetic patients with macroalbuminuria | en |
dc.type | Thesis | en |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en |
dc.degree.discipline | อายุรศาสตร์ | en |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Med - Theses |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.