Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24573
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกำธร สถิรกุล-
dc.contributor.advisorอำรุง จันทวานิช-
dc.contributor.authorคุณธัม วศินเกษม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-11-19T10:38:03Z-
dc.date.available2012-11-19T10:38:03Z-
dc.date.issued2520-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24573-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2520en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบและเปรียบเทียบหาความอ่านง่าย-ยากของตัวพิมพ์ภาษาไทยแบบต่าง ๆ ที่นิยมใช้ทั่วไป คือ แบบตัวบาง ตัวกลาง ตัวฝรั่งเศส และตัวฝรั่งเศสดำ แบบละ 5 ขนาด คือ 12 14 16 18 และ 24 ปอยท์ รวมทั้งศึกษาหาแบบขนาดของตัวพิมพ์ และลักษณะของตัวพิมพ์ที่มีความอ่านง่ายสูง เพื่อนำไปใช้ในการกำหนดใช้พิมพ์สิ่งพิมพ์ต่าง ๆ และเพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งพิมพ์สามารถนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ได้ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นนิสิตชายหญิง ระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 1-4 จำนวนรวม 40 คน ซึ่งกำลังศึกษาอยู่ในปีการศึกษา 2519 คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย โดยการเลือกสุ่มแบ่งตามระดับชั้นและเพศอย่างละเท่า ๆ กัน เครื่องมือที่ใช้ในการทดสอบเป็นชุดบัตรตัวอักษรที่พิมพ์ด้วยตัวพิมพ์ภาษาไทยแบบและขนาดดังกล่าวแล้ว บัตรละ 10 ตัวอักษร ชุดละ 5 บัตร การทดสอบกระทำในห้องปฏิบัติการจิตวิทยา ให้นิสิตอ่านตัวอักษรบนบัตร จากเครื่องทาคิสโตสโคปทีละบัตร ๆ ละ 40 มิลลิวินาที แล้วเขียนรายงานผลการอ่าน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การคำนวณหาค่าเฉลี่ยของคะแนนความอ่านง่าย-ยาก ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ความแปรปรวนของคะแนนเฉลี่ยแบบสามทางด้วยการทดสอบสถิติเอฟ (F-Statistics) และตรวจสอบความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ยที่พบว่ามีนัยสำคัญอีกครั้งที่เรียกว่า post hoc comparison test ตามวิธีการของเชฟเฟ (Scheffe’s method) ผลการวิจัยพบว่า 1) ความอ่านง่าย-ยากของตัวพิมพ์ทั้ง 4 แบบไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 2) ความอ่านง่าย-ยากของตัวพิมพ์ทั้ง 5 ขนาดแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 3) ความอ่านง่าย-ยากของตัวพิมพ์ขนาดต่าง ๆ ในแต่ละแบบไม่เป็นไปในทำนองเดียวกัน 4) ตัวพิมพ์ขนาด 12 กับ 14 ปอยท์ มีความอ่านง่าย-ยากไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 5) ตัวพิมพ์ขนาด 24 ปอยท์ มีความอ่านง่ายสูงที่สุด และขนาด 12 ปอยท์มีความอ่านง่ายต่ำที่สุด 6) ความอ่านง่าย-ยากของตัวพิมพ์ทั้ง 5 ขนาดเรียงตามลำดับจากความอ่านง่ายสูงไปหาความอ่านง่ายต่ำ คือ 24 18 16 14 และ 12 ปอยท์-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to test and compare the legibility of Thai type faces in common use: Thin, Medium, French, and French-bold, in 12 14 16 18 and 24 point-sizes, to find and study type faces, sizes and their characteristics of the high legible types for typographic use, and to recommend the result for typographers in printing. A stratified random sampling by level of education and sex was used. Forty subjects were the first to fourth year undergraduate students of both sexes, in Faculty of Education, Chulalongkorn University, in academic year 1976. The tools for collecting the scores consisted of twenty sets of printed cards, Each set consisted of five cards, and each card printed ten random Thai alphabets in the same type face on each type size. Students read the alphabets on a card by tachistoscopic experiment for 40 milliseconds in a psychological laboratory. Data analysis was carried on by computing mean scores and standard deviations of the scores, then compared mean scores with three-way (two-factor experiment with repeated measurements) analysis of variance by testing F-Statistics. Scheffe’s method for post hoc comparison test was also taken. The study resulted that: 1) legibilities of four type faces are not significantly different at .01 level, 2) legibilities of five type sizes are significantly different at .01 level, 3) legibilities of type sizes in each face are significant interactions: not similary in uniform, 4) legibilities of 12 and 14 point-sizes are not significantly different at .01 level, 5) 24 point-size is the most legible and 12 point-size is the least legible, 6) legibilities of five Thai type sizes order from high legible to low legible are 24 18 16 14 and 12 point accordingly.-
dc.format.extent442338 bytes-
dc.format.extent1057244 bytes-
dc.format.extent1087734 bytes-
dc.format.extent764527 bytes-
dc.format.extent495131 bytes-
dc.format.extent455434 bytes-
dc.format.extent448593 bytes-
dc.format.extent821436 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการทดสอบความง่าย-ยากของตัวพิมพ์ภาษาไทยแบบและขนาดต่างๆen
dc.title.alternativeThe testing for the legibility of Thai type faces and sizesen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineโสตทัศนศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kunatam_Wa_front.pdf431.97 kBAdobe PDFView/Open
Kunatam_Wa_ch1.pdf1.03 MBAdobe PDFView/Open
Kunatam_Wa_ch2.pdf1.06 MBAdobe PDFView/Open
Kunatam_Wa_ch3.pdf746.61 kBAdobe PDFView/Open
Kunatam_Wa_ch4.pdf483.53 kBAdobe PDFView/Open
Kunatam_Wa_ch5.pdf444.76 kBAdobe PDFView/Open
Kunatam_Wa_ch6.pdf438.08 kBAdobe PDFView/Open
Kunatam_Wa_back.pdf802.18 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.