Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/247
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวัฒนา สุวรรณเขตนิคม-
dc.contributor.advisorชุติมา พงศ์วรินทร์-
dc.contributor.authorมยุรี หรุ่นขำ, 2518--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.date.accessioned2006-06-05T07:42:54Z-
dc.date.available2006-06-05T07:42:54Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9740313493-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/247-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en
dc.description.abstractศึกษาผลการใช้รูปแบบพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ที่มีต่อความสามารถในการคิดแก้ปัญหาในบริบทของชุมชน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนวัดทัพหมัน สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดอุทัยธานี จำนวน 2 ห้องเรียน เลือกห้องเรียนเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม โดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย กลุ่มทดลองได้รับการสอน โดยใช้รูปแบบพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยสอนต่อเนื่องกันและใช้เวลาสอนทั้งสิ้นจำนวน 16 ชั่วโมง กลุ่มควบคุมไม่ได้รับการสอนโดยใช้รูปแบบพัฒนาการคิด อย่างมีวิจารณญาณและเรียนตามปกติ การจัดเก็บข้อมูลใช้แบบสอบวัดความสามารถ ในการคิดอย่างมีวิจารณญาณและแบบสอบวัดความสามารถ ในการคิดแก้ปัญหาในบริบทของชุมชนจากกลุ่มตัวอย่าง ก่อนและหลังการทดลอง และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติทดสอบที ผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนที่ได้รับการสอนโดยใช้รูปแบบพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณ มีคะแนนความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ หลังการทดลองไม่แตกต่างกับนักเรียนที่ไม่ได้รับการสอน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. นักเรียนที่ได้รับการสอนโดยใช้รูปแบบพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณ มีคะแนนความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ หลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. นักเรียนที่ไม่ได้รับการสอนโดยใช้รูปแบบพัฒนาการคิด อย่างมีวิจารณญาณมีคะแนนความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ หลังการทดลองไม่แตกต่างกับก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. นักเรียนที่ได้รับการสอนโดยใช้รูปแบบพัฒนา การคิดอย่างมีวิจารณญาณมีคะแนนความสามารถ ในการคิดแก้ปัญหาในบริบทของชุมชน หลังการทดลองสูงกว่านักเรียนที่ไม่ได้รับการสอน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 5. นักเรียนที่ได้รับการสอนโดยใช้รูปแบบพัฒนาการคิด อย่างมีวิจารณญาณมีคะแนนความสามารถ ในการคิดแก้ปัญหาในบริบทของชุมชน หลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 6. นักเรียนที่ไม่ได้รับการสอนโดยใช้รูปแบบพัฒนาการคิด อย่างมีวิจารณญาณมีคะแนนความสามารถ ในการคิดแก้ปัญหาในบริบทของชุมชน หลังการทดลองไม่แตกต่างกับก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en
dc.description.abstractalternativeTo investigate the effects of using critical thinking development model on problem solving abilities in community context. The subjects were two classes of Mathayomsuksa three students from Wadthabhman School under the Jurisdiction of the Primary Education Office of Uthaithanee Province. The classrooms were randomly assigned into the experimental group and the control group. The students in the experimental group continually received the training of critical thinking development model for 16 hours while the students in the control group did not receive the training of critical thinking development model. All subjects were tested by the critical thinking ability test and the problem solving ability in community context test before and after the training period. The testing scores were analyzed by using t-test. The results were as follows 1. The students who received the training of the critical thinking development model showed that the post test scores for the critical thinking ability test were not different from the students who did not receive the training of the critical thinking development model at the .05 significant level. 2. The students who received the training of the critical thinking development model showed higher post test scores for the critical thinking ability test than the pre test scores at the .05 significant level. 3. The students who did not receive the training of the critical thinking development model showed that the post test scores for the critical thinking ability test were not different from the pre test scores at the .05 significant level. 4. The students who received the training of the critical thinking development model showed higher post test scores for the problem solving ability in community context test than the students who did not receive the training of the critical thinking development model at the .05 significant level. 5. The students who received the training of the critical thinking development model showed higher post test scores for the problem solving ability in community context test than the pre test scores at the .05 significant level. 6. The students who did not receive the training of the critical thinking development model showed that the post test scores for the problem solving ability in community context test were not different from the pre test scores at the .05 significant level.en
dc.format.extent1888996 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2001.556-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectความคิดอย่างมีวิจารณญาณen
dc.subjectการแก้ปัญหาen
dc.subjectชุมชนen
dc.titleผลการใช้รูปแบบพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ที่มีต่อความสามารถในการคิดแก้ปัญหา ในบริบทของชุมชนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3en
dc.title.alternativeEffects of using critical thinking development model on problem solving abilities in community context of mathayomsuksa three studentsen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineจิตวิทยาการศึกษาen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSuwatana.S@chula.ac.th-
dc.email.advisorChutima.P@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2001.556-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Muyuree.pdf2.22 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.