Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24836
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมัทยา จิตติรัตน์-
dc.contributor.authorราชศรุต จันทร์โชติ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-11-21T03:32:39Z-
dc.date.available2012-11-21T03:32:39Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.isbn9741723555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24836-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะศึกษาถึงการกระทำความผิดฐานพรากเด็กและผู้เยาว์ กรณีที่กระทำต่อเด็กและผู้เยาว์ที่เร่ร่อนไม่มีบิดา มารดา ผู้ปกครองหรือ ผู้ดูแล ซึ่งปราศจากผู้ใช้อำนาจปกครอง จึงเป็นเหตุให้ผู้ที่กระทำนั้นไม่มีความผิดฐานพรากผู้เยาว์ เนื่องจากการกระทำดังกล่าวนั้นไม่ครบองค์ประกอบความผิดตามกฎหมาย จึงไม่อาจคุ้มครองเด็กและผู้เยาว์ที่เร่ร่อนได้ จากการศึกษาพบว่า รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยได้บัญญัติรับรองว่าเด็กและเยาวชน ซึ่งไม่มีผู้ดูแลมีสิทธิได้รับการเลี้ยงดู อบรมศึกษาจากรัฐ ประกอบกับอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กและข้อตกลงระหว่างประเทศได้กำหนดให้รัฐภาคีต้องมีมาตรการที่เหมาะสมในการให้ความคุ้มครอง ดูแลเด็กและเยาวชนที่ไม่มีผู้ดูแล แต่ปัจจุบันยังไม่มีกฎหมายใดบัญญัติรองรับถึงหน้าที่ของรัฐที่มีต่อเด็กและผู้เยาว์ จึงทำให้การบังคับใช้กฎหมายไม่เป็นไปตามเจตนารมณ์ที่ได้บัญญัติไว้ การวิจัยเรื่องนี้ได้เสนอแนะให้จัดตั้งองค์การมหาชนขึ้นเพื่อส่งเสริมการคุ้มครอง ให้การศึกษาและให้ถือว่าเป็นผู้ดูแลตามกฎหมายของเด็กและผู้เยาว์ที่ไม่มีผู้ดูแล รวมทั้งการเป็นผู้เสียหายที่มีสิทธิฟ้องคดีอาญาในความผิดฐานพรากเด็กและผู้เยาว์ที่กระทำต่อเด็กและผู้เยาว์ที่ไม่มีผู้ดูแล และแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา ตั้งแต่มาตรา 317 ถึงมาตรา 319 ที่ว่า ผู้ใดพรากเด็กหรือผู้เยาว์ไปเสียจากบิดา มารดา ผู้ปกครอง หรือผู้ดูแล โดยเพิ่มองค์ประกอบความผิดให้รวมถึง “ผู้ดูแลตามที่กฎหมายบัญญัติ” ไว้ด้วย และแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 5 ให้ผู้แทนขององค์การที่จัดตั้งขึ้นดังกล่าวมีอำนาจจัดการแทนองค์การ ซึ่งเป็นผู้เสียหายในความผิดฐานพรากเด็กและผู้เยาว์ที่ไม่มีผู้ดูแล-
dc.description.abstractalternativeThis research is intended to study the offence of taking away of a child and a minor in case where the minor does not have parents, guardian or person looking after them. Due to absence of such persons resulting in incomplete element of offence according to the law, the doer who commits the act is not in violation of the offence of taking away of a child and a minor. Based on the study, it appears that the Constitution of the Kingdom of Thailand provides that a child and a minor without a person looking after them shall be treated, disciplined and educationally trained by the state. In addition, the Convention on the Rights of the Child and Protocol provides that the Member State shall have the appropriate measures for protecting and taking care of a child or a minor without guardian. However, in the present there is no law prescribing the onus of the state to protect them ; therefore, the enforcement of the law does not follow its intention. This research proposes to establish a public organization to promote the protection, education of a child or a minor without guardian acting as their legal guardian them and as an injured person in a criminal case for the above-mentioned offence. In addition Section 317 to 319 of the Penal Code as well as Section 5 of the Criminal Procedure Code should be amended by inserting the element of the offence to include “a guardian according to the law” and authorizing the delegate of such established public organization to act on behalf of and a minor without guardian.-
dc.format.extent2311213 bytes-
dc.format.extent2948399 bytes-
dc.format.extent17918256 bytes-
dc.format.extent12569798 bytes-
dc.format.extent9796501 bytes-
dc.format.extent2502268 bytes-
dc.format.extent1338707 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectความผิดต่อบุคคล-
dc.subjectเด็กจรจัด-
dc.subjectความผิด (กฎหมาย)-
dc.subjectสิทธิเด็ก -- การคุ้มครอง-
dc.titleความผิดฐานพรากเด็กและผู้เยาว์ : ศึกษากรณีเด็กและผู้เยาว์ที่เร่ร่อนไม่มีบิดามารดา ผู้ปกครอง หรือผู้ดูแลen
dc.title.alternativeThe offence concerning the taking away of child and minor : a study into the matter of the homeless children and minors without parent, guardian or person looking after themen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Law - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Rajsarut_ja_front.pdf2.26 MBAdobe PDFView/Open
Rajsarut_ja_ch1.pdf2.88 MBAdobe PDFView/Open
Rajsarut_ja_ch2.pdf17.5 MBAdobe PDFView/Open
Rajsarut_ja_ch3.pdf12.28 MBAdobe PDFView/Open
Rajsarut_ja_ch4.pdf9.57 MBAdobe PDFView/Open
Rajsarut_ja_ch5.pdf2.44 MBAdobe PDFView/Open
Rajsarut_ja_back.pdf1.31 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.