Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24867
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เริงเดชา รัชตโพธิ์ | - |
dc.contributor.author | นิวัฒน์ นิลสิทธานุเคราะห์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2012-11-21T05:36:19Z | - |
dc.date.available | 2012-11-21T05:36:19Z | - |
dc.date.issued | 2529 | - |
dc.identifier.isbn | 9745666319 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24867 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2529 | en |
dc.description.abstractalternative | งานวิจัยนี้ได้ศึกษาถึงการวิเคราะห์ผนังต้านแรงเฉือน (Shear Wall) โดยวิธีโครงสร้างย่อยแบบฟรอนทัล (Frontal Substructure Method) ซึ่งเป็นวิธีผสมระหว่างวิธีโครงสร้างย่อย (Substructure Method) และวิธีฟรอนทัล (Frontal Method) วิธีนี้เหมาะสำหรับผนังต้านแรงเฉือนที่มีลักษณะของชั้นเหมือน ๆ กัน ทำให้ช่วยลดเวลาในการทำงานและลดหน่วยความจำสำรองในแผ่นจานแม่เหล็กลง แต่ใช้หน่วยความจำหลักของเครื่องเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับวิธีฟรอนทัล วิธีโครงสร้างย่อยแบบฟรอนทัลนั้น จะทำการรวม (Assemble) สัมประสิทธิ์ของสติฟเนสเมตริกซ์และเวกเตอร์ของแรง (Load Vector) เข้ามาทีละชิ้นส่วนย่อยและในขณะเดียวกันจะทำการกำจัด (Reduce) ค่าระดับขั้นความเสรี (Degree of Freedom) ของขั้วที่อยู่ภายในโครงสร้างย่อยโดยวิธีการกำจัดของเกาส์ (Gauss Elimination) สำหรับโครงสร้างย่อยที่ 1 และค่าระดับขั้นความเสรีของขั้วที่ไม่ได้ต่อกับชิ้นส่วนย่อยต่อไป สำหรับโครงสร้างย่อยระดับที่ 2 โดยมีขั้นตอนต่าง ๆ ในการทำเหมือนกับโครงสร้างย่อยระดับที่ 1 ผลลัพธ์ที่ได้ออกมาจากการวิเคราะห์ได้แก่ ค่าการเคลื่อนที่ที่ขั้ว (Nodal Displacement) และค่าความเค้น (Stress) ภายในชิ้นส่วนย่อย ในการวิจัยนี้ได้เลือกชิ้นส่วนย่อยไอโซพาราเมตริกเชิงเส้น (Linear Isoparametric Element, Q4) และชิ้นส่วนย่อยไอโซพาราเมตริกกำลังสอง [(Quadratic Isoperimetric Element, Q8)] เป็นชิ้นส่วนย่อยที่ใช้แสดงพฤติกรรมของผนังต้านแรงเฉือน จากตัวอย่างที่ได้ทำการศึกษามาปรากฏว่า ชิ้นส่วนย่อยชนิด Q8 ให้ผลลัพธ์ได้ใกล้เคียงความจริงมากกว่าชิ้นส่วนย่อยชนิด Q4 เมื่อมีจำนวนขั้วในโครงสร้างเท่า ๆ กัน อีกทั้งยังช่วยลดเวลาในการทำงานของเครื่องด้วย งานวิจัยนี้ได้เขียนโปรแกรมขึ้นเพื่อใช้กับไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) เป็นภาษาแอปเปิลซอฟท์เบสิค ([Apple soft] BASIC) | |
dc.description.abstractalternative | This research presents a frontal [sub structuring] scheme for analysis of shear walls. The frontal [sub structuring] scheme, a hybrid of the frontal and substructure method, has proved to be suitable for shear walls with a large number of repeated substructures. This scheme has resulted in a significant saving in execution time and storage in the diskette but consumes more memory when compared to the conventional frontal method. The frontal [sub structuring] scheme assembles coefficients of member stiffness matrices and load vectors, reduces those degrees of freedom of internal nodes of substructures in level 1 and nodes which are unconnected to nodes of other elements in level 2 by Gauss elimination. The results obtained are nodal displacements and element stresses. The linear [isoperimetric] element (Q4) and quadratic [isoperimetric] element (Q8) are selected as elements for shear wall behavior representation. The cases studied in this research show that the quadratic [isoperimetric] element when the number of nodes in the structure considered is about the same. In addition, use of the Q8 element leads to saving in the execution time. The computer programme in this research is written in [Apple soft] BASIC. | |
dc.format.extent | 595820 bytes | - |
dc.format.extent | 543952 bytes | - |
dc.format.extent | 575674 bytes | - |
dc.format.extent | 489428 bytes | - |
dc.format.extent | 1480195 bytes | - |
dc.format.extent | 338775 bytes | - |
dc.format.extent | 3834799 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | วิศวกรรมโครงสร้าง (วิศวกรรมศาสตร์) -- โปรแกรมคอมพิวเตอร์ | |
dc.subject | ผนังรับแรงเฉือน | |
dc.subject | ไฟไนต์เอลิเมนต์ | |
dc.subject | ความเครียดและความเค้น | |
dc.title | แผนงานโครงสร้างย่อยแบบฟรอนทัลสำหรับวิเคราะห์ผนังด้านแรงเฉือน ด้วยไมโครคอมพิวเตอร์ | en |
dc.title.alternative | A frontal substructuring scheme for analysis of shear walls by microcomputer | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมโยธา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Niwat_Ni_front.pdf | 581.86 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Niwat_Ni_ch1.pdf | 531.2 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Niwat_Ni_ch2.pdf | 562.18 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Niwat_Ni_ch3.pdf | 477.96 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Niwat_Ni_ch4.pdf | 1.45 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Niwat_Ni_ch5.pdf | 330.83 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Niwat_Ni_back.pdf | 3.74 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.