Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2495
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิพัทธิ์ กาญจนธนาเลิศ-
dc.contributor.authorศันสนีย์ ภู่พงศ์พัฒนา, 2509--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-09-14T11:11:54Z-
dc.date.available2006-09-14T11:11:54Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9745312347-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2495-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณา ณ ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง มีจุดประสงค์เพื่อประเมิน แรงจูงใจในการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนสาธิต ในกรุงเทพมหานคร และปัจจัยที่เกี่ยวข้องโดยใช้การสุ่มตัวอย่างแบบ Quota sampling ในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 ได้กลุ่มตัวอย่าง 370 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือ แบบสอบถาม จำนวน 1 ชุด แบ่งเป็น 6 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล ส่วนที่ 2 แบบสอบถาม แรงจูงใจในการเรียน ส่วนที่ 3 แบบสอบถามเกี่ยวกับสัมพันธภาพในครอบครัว ส่วนที่ 4 แบบสอบถามด้านสิ่งแวดล้อมทางการเรียน ส่วนที่ 5 แบบสอบถามวัดเจตคติต่อการเรียนและ ส่วนที่ 6 แบบสอบถามความเชื่ออำนาจภายในตน สถิติที่ใช้ประกอบด้วย สถิติเชิงพรรณา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ผลการศึกษาพบว่าแรงจูงใจในการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ในโรงเรียนสาธิตอยู่ในระดับปานกลาง และระดับดี ปัจจัยที่สามารถทำนายแรงจูงใจในการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นใน โรงเรียนสาธิต คือ สัมพันธภาพในครอบครัวen
dc.description.abstractalternativeThe research was the correctional descriptive study aimed to study motive for studying and associated factors of lower secondary students of demonstration schools in Bangkok. 370 subjects were randomly selected by using Quota sampling. The instrument of this research was a set of questionnaires consisted of 6 parts. Part one was demographic questionnaires. Part two was motive for studying questionnaires. Part three was relationship in family questionnaires. Part four was environment in school questionnaires. Part five was attitude for studying questionnaires and Part six was internal locus of control questionnaires. The data were statistically analyzed by mean, percentage, standard deviation and Pearson Product Moment Correlation Coefficient. The results of this research revealed that motive for studying of lower secondary students in demonstration school in Bangkok were in medium and high level. The factor which could be the predictive variable of motive for studying was the family relationship.en
dc.format.extent832252 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการจูงใจในการศึกษาen
dc.subjectโรงเรียนสาธิตen
dc.subjectสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนen
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษาen
dc.titleแรงจูงใจในการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนสาธิตen
dc.title.alternativeMotivative for studying of lower secondary students of demonstration schoolsen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineสุขภาพจิตen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorNipatt.K@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sansanee.pdf928.86 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.