Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25122
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จุมพล รอดคำดี | - |
dc.contributor.author | ปรินดา องค์สุรกุล | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2012-11-22T03:10:27Z | - |
dc.date.available | 2012-11-22T03:10:27Z | - |
dc.date.issued | 2547 | - |
dc.identifier.isbn | 9745317926 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25122 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาให้ทราบถึงตรรกะในการผลิตและการสื่อความหมายของผู้ผลิต ภาพยนตร์การ์ตูนไทยและเพื่อวิเคราะห์ให้ทราบถึงกระบวนการสร้างความหมายเชิงมายาคติที่ปรากฏอยู่ใน ภาพยนตร์การ์ตูนไทย เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้แนวคิดเกี่ยวกับภาพยนตร์การ์ตูนไทยทางโทรทัศน์ แนวคิดเกี่ยวกับกระบวนการผลิตภาพยนตร์การ์ตูน แนวคิดเชิงมายาคติ และแนวคิดเกี่ยวกับการเล่าเรื่องมาเป็น กรอบในการวิเคราะห์หาคำตอบ โดยศึกษาจากภาพยนตร์การ์ตูนไทยเรื่อง "ปลาบู่ทอง" ที่ออกอากาศระหว่าง เดือนพฤษภาคม 2543 ถึงเดือนมิถุนายน 2544 และภาพยนตร์การ์ตูนเรื่อง "ปังปอนด์ ดิ แอนิเมชั่น" ที่ ออกอากาศระหว่างเดือนพฤษภาคม 2545 ถึงเดือนพฤศจิกายน 2545 โดยทั้งสองเรื่องออกอากาศทาง สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ผลการวิจัยพบว่าผู้ผลิตภาพยนตร์การ์ตูนไทยเรื่อง "ปลาบู่ทอง" เลือกนิทานพื้นบ้านมาผลิตซ้ำเนื่องจาก นิทานพื้นบ้านง่ายต่อการผลิต เป็นที่รู้จักแพร่หลาย แสดงถึงความเป็นไทยและให้ข้อคิดสอนใจและเหตุผลที่ เลือกนิทานเรื่อง "ปลาบู่ทอง" มาผลิตซ้ำเนื่องจากผู้ผลิตต้องการนำเสนอความหมายเชิงมายาคติที่มีมาแต่ดั้งเดิม คือ มายาคติเรื่อง "ความกตัญญูรู้คุณ" และ "การทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว" นอกจากนี้ผู้ผลิตมองว่านิทานเรื่อง "ปลาบู่ทอง" สามารถสอดแทรกเรื่องราวเกี่ยวกับสัตว์และธรรมชาติได้ซึ่งสอดคล้องกับความเชื่อของผู้ผลิตที่ว่า สัตว์ต้องคู่กับเด็ก ส่วนภาพยนตร์การ์ตูนเรื่อง"ปังปอนด์ ดิ แอนิเมชั่น" นั้น ผู้ผลิตสร้างเรื่องราวขึ้นมาใหม่จากตัวการ์ตูนที่ ได้รับความนิยมในหนังสือการ์ตูนของบริษัทผู้ผลิต ซึ่งเป็นรูปแบบเดียวกับการผลิตภาพยนตร์การ์ตูนใน ต่างประเทศ คือนำหนังสือการ์ตูนที่ได้รับความนิยมมาผลิตเป็นภาพยนตร์การ์ตูนและความหมายเชิงมายาคติ สมัยใหม่ที่ผู้ผลิตต้องการนำเสนอ คือ มายาคติเกี่ยวกับ "เด็กไทย" และมายาคติเกี่ยวกับ "โลกอนาคต" ภาพยนตร์การ์ตูนทั้งสองเรื่องได้ถ่ายทอดความหมายเชิงมายาคติโดยการเล่าเรื่องตามลำดับเหตุการณ์ และสื่อความหมายผ่านบุคลิกลักษณะของตัวการ์ตูนเป็นหลัก ไม่ว่าจะเป็นการแต่งกาย คำพูดหรือการกระทำ ของตัวการ์ตูน แต่ไม่ได้ใช้เทคนิคทางภาพยนตร์ เช่น การจัดแสง สี ฉาก มาใช้ในการสื่อความหมายมากนัก | - |
dc.description.abstractalternative | This qualitative research was aimed to study about logics of making a Thai cartoon film and encoding myths in the cartoon. The principle of Thai animation, the Mythology, the concept of Thainess, and story narration were applied for the framework of this research. Two Thai cartoons were selected for the main study. The first selected Thai cartoon was a folktale, namely "Pla Boo Thong" on air between May 2000 to November 2001. The second one was "Pangpond the Animation" on air between May to November 2002. It was found that the reasons of selecting "Pla Boo Thong" for making Thai cartoon film because it was a well-known Thai folktale. The story was simple to understand and reflected the Thainess and Thai good deed. It was very wise to transform Thai myths such as: gratefulness and a proverb, "acting bad getting bad, acting good getting good" to Thai cartoon. Moreover, the "Pla Boo Thong" was able to insert the stories about the nature and several kinds of fish lives. The producers also believed that animals are always children’s closed friends. The second selected Thai cartoon was "Pangpond the Animation" was found that the story selection came from the reasons of a well-known Thai comic book and it was a modem story as the same reason as western cartoon producers usually chose stories from comic books too. The "Pangpond the Animation" was encoded by its producer about the myth of a new modem Thai kid and a future world. Both cartoons were presented the hidden meaning of myths by narrating scene by scene sequentially and also communicated with their audience by cartoon characters, costumes, dialogues and actings without focusing on film techniques such as: lighting, colors and background. | - |
dc.format.extent | 2297309 bytes | - |
dc.format.extent | 2881048 bytes | - |
dc.format.extent | 12757833 bytes | - |
dc.format.extent | 2482377 bytes | - |
dc.format.extent | 11906361 bytes | - |
dc.format.extent | 35430209 bytes | - |
dc.format.extent | 4295991 bytes | - |
dc.format.extent | 1441207 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | กระบวนการสร้างความหมายเชิงมายาคติในภาพยนตร์การ์ตูนไทยทางโทรทัศน์ | en |
dc.title.alternative | Myth encoding process of television Thai cartoons | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | การสื่อสารมวลชน | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Comm - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Parinda_on_front.pdf | 2.24 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Parinda_on_ch1.pdf | 2.81 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Parinda_on_ch2.pdf | 12.46 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Parinda_on_ch3.pdf | 2.42 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Parinda_on_ch4.pdf | 11.63 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Parinda_on_ch5.pdf | 34.6 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Parinda_on_ch6.pdf | 4.2 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Parinda_on_back.pdf | 1.41 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.