Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25175
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิดานันท์ มลิทอง-
dc.contributor.authorศศิวิมล เจนกระบวนหัด-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-11-22T04:05:46Z-
dc.date.available2012-11-22T04:05:46Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741752369-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25175-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบความคาดหวังและสภาพจริงในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการเรียนการสอนของครูในโครงการโรงเรียนใช้ไอซีทีเพื่อพัฒนาการเรียนรู้กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูผู้รับผิดชอบโครงการจำนวน 12 คน และครูผู้สอนทั่วไปจำนวน 300 คน จากโรงเรียนในโครงการ 12 แห่ง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ผู้รับผิดชอบโครงการมีความคาดหวังมากที่สุดในทุกด้าน ได้แก่ด้านผู้สอน ผู้เรียน สื่อไอซีที หลักสูตรไอซีที การจัดการเรียนการสอน ผู้บริหาร และการให้ความร่วมมือของมหาวิทยาลัยพี่เลี้ยง ในขณะที่สภาพจริงอยู่ในระดับปานกลางทุกด้าน ยกเว้นด้านผู้บริหารอยู่ในระดับมาก สำหรับครูผู้สอนทั่วไปมีความคาดหวังในระดับมากทุกด้าน ส่วนสภาพจริงทุกด้านอยู่ในระดับปานกลาง 2. การเปรียบเทียบค่าความแตกต่างระหว่างความคาดหวังกับสภาพจริงพบว่า มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยมีความคาดหวังในทุกด้านสูงกว่าสภาพจริง ข้อที่มีความคาดหวังและสภาพจริงต่างกันมากที่สุด ได้แก่ 1) ด้านผู้สอน การได้รับการสนับสนุนในการผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส์ 2) ด้านผู้เรียน การมีเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ฝึกฝนอย่างพอเพียง 3) ด้านสื่อไอซีที การมีส่วนร่วมของผู้เรียนในการเลือกโปรแกรมที่นำมาใช้ มีเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละห้องเรียน และความสะดวกรวดเร็วในการใช้อินเตอร์เน็ต 4) ด้านหลักสูตร การมีส่วนร่วมของครูผู้สอนในการจัดร่างหลักสูตรไอซีทีของโรงเรียน 5) ด้านการจัดการเรียนการสอน การมอบหมายงานให้ผู้เรียนใช้ไอซีที 6) ด้านผู้บริหาร ความสนับสนุนของผู้บริหารในการให้ครูผู้สอนจัดทำเอกสารหรือสื่อไอซีทีเพื่อเผยแพร่หรือใช้ประกอบการเรียนการสอน และ 7) ด้านการให้ความร่วมมือมหาวิทยาลัยพี่เลี้ยง การให้ความสนับสนุนด้านการผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของมหาวิทยาลัยพี่เลี้ยง-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study and compare between the expectation and actual state in the implementing of information and communications technology for instruction of teachers in use of ICT for learning development school project. The samples were 12 responsible project teachers and 300 teachers from 12 schools in the project. Check - list forms were used in the study. Data were analyzed using percentage, mean, standard deviation and t - test. The findings were as follows : 1. The expectation of ICT responsible project teachers was in the highest level in all factors: teacher, learner, media, curriculum, teaching and learning procedures, the administrators and mentor university. However, the actual state of all factors was in the middle level, except the administrators factors was in high level. For general teachers expectation was in high level in all factors and the actual state was in the middle level in all factors. 2. Comparing of expectation and the actual state in the implementing of ICT of teachers. There was a significiant difference at the level of 0.01 and expectation in all areas are much more the actual state. For the items which have the most differences between the expectation and the actual states are: 1) Teachers: the support in electronic media production; 2) Learners: the enough quantity of computer for practice; 3) ICT media: the learners' participation in selecting the software program, computers in every classroom, and the Internet faster speed; 4) Curriculum: the teachers' participation in drafting school curriculum; 5) Teaching and learning procedures: the students' assignment by using ICT; 6) Administration: the administrators' supporting teacher in producing document or ICT media to disseminate or utilize in instruction, and 6) Mentor university: the support from mentor university in electronic media production.-
dc.format.extent2676141 bytes-
dc.format.extent3822977 bytes-
dc.format.extent12486601 bytes-
dc.format.extent1548998 bytes-
dc.format.extent14797350 bytes-
dc.format.extent8705813 bytes-
dc.format.extent14619871 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการเปรียบเทียบความคาดหวังและสภาพจริงในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการเรียนการสอนของครูในโครงการโรงเรียนใช้ไอซีทีเพื่อพัฒนาการเรียนรู้en
dc.title.alternativeA comparison between of teacher expectation and actual state in the implementing of information and communications technology for the instruction of teachers in use of ICT for learning development school projecten
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineโสตทัศนศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sasiwimon_ja_front.pdf2.61 MBAdobe PDFView/Open
Sasiwimon_ja_ch1.pdf3.73 MBAdobe PDFView/Open
Sasiwimon_ja_ch2.pdf12.19 MBAdobe PDFView/Open
Sasiwimon_ja_ch3.pdf1.51 MBAdobe PDFView/Open
Sasiwimon_ja_ch4.pdf14.45 MBAdobe PDFView/Open
Sasiwimon_ja_ch5.pdf8.5 MBAdobe PDFView/Open
Sasiwimon_ja_back.pdf14.28 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.