Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25178
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ภาสกร วัธนธาดา | - |
dc.contributor.advisor | พงศ์ศักดิ์ ยุกตะนันทน์ | - |
dc.contributor.author | ปาจรีย์ ศรีสมบัติ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2012-11-22T04:09:02Z | - |
dc.date.available | 2012-11-22T04:09:02Z | - |
dc.date.issued | 2547 | - |
dc.identifier.isbn | 9741769687 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25178 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 | en |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์หลักของการศึกษาวิจัยครั้งนี้ เพื่อศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างระยะเวลา ของลูกเทนนิสตั้งแต่ขณะลอยสูงสุดถึงขณะที่ลูกกระทบหน้าไม้และความเร็วของลูกเสิร์ฟใน การแข่งขันเทนนิส และวัตถุประสงค์รองเพื่อศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของผู้เสิร์ฟที่มีผล ต่อความเร็วของการเสิร์ฟเทนนิส โดยทำการเก็บข้อมูลระหว่างการแข่งขันด้วยกล้องความถี่ 50 Hz 4 ตัว เพื่อบันทึกภาพการเสิร์ฟในการแข่งขันของนักเทนนิสทั้งสองคนที่เข้าร่วมการศึกษาวิจัย ซึ่งมี การกำหนดตำแหน่งของจุดพิกัดทั้ง 23 จุดบนภาพนักกีฬา ไม้เทนนิส และ ลูกเทนนิส เพื่อคำนวณหา จุดพิกัดแบบสามมิติ จากสมมติฐานที่ว่าถ้าระยะเวลาของลูกเทนนิสตั้งแต่ขณะลอยสูงสุดถึงขณะที่ลูกกระทบ หน้าไม้น้อย ความเร็วของลูกเสิร์ฟน่าจะมีค่าสูง ผลการศึกษาพบว่าความสัมพันธ์ของระยะเวลาของ ลูกเทนนิสตั้งแต่ขณะลอยสูงสุดถึงขณะที่ลูกกระทบหน้าไม้และความเร็วของลูกเสิร์ฟเป็นไปตาม สมมติฐานหนึ่งคนและตรงข้ามกับสมมติฐานหนึ่งคน อย่างไรก็ตามความสัมพันธ์ของตัวแปรทั้งสอง อยู่ในระดับที่ต่ำมาก จากการวิเคราะห์ด้วย Step-wise multiple regression พบว่า ความเร็วเชิงมุมของการหมุน เข้าของข้อไหล่สูงสุดเป็นตัวพยากรณ์ที่สามารถอธิบายความสัมพันธ์กับความเร็วของลูกเสิร์ฟใน นักกีฬาคนที่ 1 ทั้งในการเสิร์ฟครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 ได้ 13% ส่วนในนักกีฬาคนที่ 2 ความเร็วเชิงมุม ของการเหยียดข้อไหล่สูงสุดเป็นตัวพยากรณ์ที่สามารถอธิบายความสัมพันธ์กับความเร็วของลูกเสิร์ฟลูกที่ 2 ของนักกีฬาคนที่ 2 ในการแข่งขันได้ 19 % | - |
dc.description.abstractalternative | The primary objective of this study was to examine the relationship between time from maximal height to impact and ball velocities of serve during a tennis match. The second objective was to investigate body movement factors of tennis serve contributing ball velocities. Data was collected during a tennis match using 4 high-speed cameras (50 Hz). All serves in play was analysed for both subjects. Position of 23 landmarks on each player, racket and ball were manually digitized and calculated for three-dimensional co-ordinates. Based on our hypothesis, tennis serve with less time form maximal height to impact should associate with high velocities of tennis serve. While the result of a player’ serves confirmed the hypothesis, the result of another player’ serves refuted the hypothesis. However, the relationship of the time from maximal height to impact and serve velocities was very low. A stepwise multiple regress showed that maximal angular velocities of shoulder internal rotation was the best predictor contributing 13% of ball velocities for the first and second serve of the first player and maximal angular velocities of elbow extension was the best predictor contributing 19 % of ball velocities for the second serve of the second player. | - |
dc.format.extent | 3367858 bytes | - |
dc.format.extent | 1909718 bytes | - |
dc.format.extent | 6388930 bytes | - |
dc.format.extent | 8014636 bytes | - |
dc.format.extent | 3430902 bytes | - |
dc.format.extent | 2167370 bytes | - |
dc.format.extent | 4542382 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างระยะเวลาของลูกเทนนิสตั้งแต่ขณะลอยสูงสุดถึงขณะที่ลูกกระทบหน้าไม้และความเร็วของลูกเสิร์ฟในการแข่งขันเทนนิส | en |
dc.title.alternative | Relationship between time from maximal height to impact and ball velocities of serve during a tennis match | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | เวชศาสตร์การกีฬา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Med - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Pajaree_sr_front.pdf | 3.29 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pajaree_sr_ch1.pdf | 1.86 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pajaree_sr_ch2.pdf | 6.24 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pajaree_sr_ch3.pdf | 7.83 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pajaree_sr_ch4.pdf | 3.35 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pajaree_sr_ch5.pdf | 2.12 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pajaree_sr_back.pdf | 4.44 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.