Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25190
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปิยะชาติ แสงอรุณ | - |
dc.contributor.author | ศักดา บุญยืด | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2012-11-22T04:31:20Z | - |
dc.date.available | 2012-11-22T04:31:20Z | - |
dc.date.issued | 2546 | - |
dc.identifier.isbn | 9741757204 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25190 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณค่าศิลปะแกะสลักไม้ในหอไตรภาคอีสานตอน ล่าง ของผู้เชี่ยวชาญ อาจารย์ และนักศึกษาระดับปริญญาตรีในโปรแกรมวิชาศิลปศึกษา และโปรแกรมวิชาศิลปกรรม สถาบันราชภัฎอุบลราชธานี ใน 4 ด้าน คือ คุณค่าภูมิปัญญาแห่งชุมชน คุณค่าต่อวิถีชีวิตและชุมชน คุณค่าทางประวัติศาสตร์ และคุณค่าทางการศึกษา กลุ่มประชากร และตัวอย่างประชากรที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญงานศิลปะแกะสลักไม้ 6 คน อาจารย์โปรแกรมศิลปกรรม 8 คน และนักศึกษาโปรแกรมวิชาศิลปกรรม ระดับปริญญาตรี 117 คนโดยใช้แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างสำหรับผู้เชี่ยวชาญ และแบบสอบถามสำหรับอาจารย์ และนักศึกษา ซึ่งเป็นแบบตรวจสอบรายการ แบบประมาณค่า และแบบปลายเปิด วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่ามัชฌิมาเลขคณิต ([x-bar]) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ผลการวิจัยปรากฏว่า 1. ผู้เชี่ยวชาญที่เป็นช่างพื้นบ้านส่วนใหญ่มีความคิดเห็นว่า ศิลปะแกะสลักไม้ในหอไตรฯ เป็นงานศิลปะเชิงช่างของช่างพื้นบ้านอีสานตอนล่างที่สร้างสรรค์ขึ้นจากความ เชื่อศรัทธาในพุทธศาสนา แสดงถึงภูมิปัญญาของช่าง และเอกลักษณ์ของงานศิลปะเชิงช่างอีสานตอนล่าง จากรูปแบบ เนื้อหา เรื่องราวและลวดลาย ที่เกิดจากการผสมผสานรูปแบบทางศิลปะระหว่างสกุลช่างบางกอก กับสกุลช่างพื้นบ้าน สะท้อนถึงวิถีชีวิต วิถีสังคม ขนบธรรมเนียม ประเพณี ประวัติศาสตร์ของชุมชน และมีคุณค่าควรแก่การศึกษา เพื่อธำรงรักษาไว้ซึ่งความเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่ดีงามของชุมชน และของชาติ 2. ผู้เชี่ยวชาญที่เป็นนักวิชาการส่วนใหญ่มีความคิดเห็นว่าศิลปะแกะสลักไม้ฯ เป็นงานสร้างสรรค์ทางภูมิปัญญาเพื่อสนองความเชื่อในพระพุทธศาสนา แสดงออกถึงภูมิปัญญาในการคิด การแก้ปัญหาทางด้านออกแบบ ด้านวัสดุ และด้านเครื่องมือสะท้อนถึงวิถีการดำเนินชีวิตตามแนวพระพุทธศาสนาและจารีต ประเพณีเฉพาะถิ่นดั้งเดิม เป็นเครื่องเชื่อมโยงและสร้างความผูกพันของคนในชุมชน มีสาระที่สะท้อนถึงประวัติศาสตร์ของชุมชน และประวัติศาสตร์ด้านศิลปะเชิงช่างท้องถิ่น เป็นมรดกและขุมทรัพย์ทางภูมิปัญญาที่มีคุณค่าแก่การศึกษา 3. อาจารย์ และนักศึกษามีความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณค่าของงานศิลปะแกะสลักไม้ทั้ง 4 ด้านคือคุณค่าทางภูมิปัญญาแห่งชุมชน คุณค่าต่อวิถีชีวิต และชุมชน คุณค่าทางประวัติศาสตร์ และคุณค่าทางการศึกษา อยู่ในระดับมาก นอกจากนี้ผู้เชี่ยวชาญ อาจารย์และนักศึกษาโปรแกรมวิชาศิลปกรรมได้เสนอแนะว่า ศิลปะแกะสลักไม้ในหอไตรภาคอีสานตอนล่างเป็นศิลปะที่ควรค่าแก่การศึกษาและการ อนุรักษ์ ควรมีการนำเข้าสู่กระบวนการการศึกษาในสถาบันการศึกษาระดับต่างๆ โดยจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เหมาะสม ให้ผู้เรียนและเยาวชนได้เห็นคุณค่า และความสำคัญ มีความสำนึก และตระหนักในการอนุรักษ์และสืบทอดต่อไป | - |
dc.description.abstractalternative | The research aimed at studying the opinions of experts, teachers and undergraduate students towards of the Hortri wood carving in the Lower part of l - San. The study cussed on four aspects; intellectual wisdom of community value, way of life value, historical value and educational value. The population and the samples of population in this research were 6 wood carving experts, 8 teachers and 117 undergraduate students from the art program. The research instruments were used interview forms for the experts and the questionnaires for teachers and students. The collected data were analyzed by frequency. percentage, mean and standard deviations. The research found that; 1. The wood carving experts agreed that the Hortri wood carving was created with strong faith in Buddhism it depicted the wisdom of artists with unique style, the style of motifs and contents were a delicate combination of works by artists from Bangkok and local artists. These elements reflected way of life, social norm, custom, traditions and community historical. They were worthwhile for proper study so that cultural legacy of a community in particular and of a nation as a whole could be preserved. 2. The experts who were mainly academic viewed that the wood carving art is a creative work of local wisdom to show deep belief and faith in Buddhism. It display ideas, way of solving problems in term of design, material and equipments. It reflected the Buddhistic way of life and traditional ways, linking different communities. It also echoed the history of the community, and of the local art, being a heritage and treasure worth being studied. 3. Teachers and students held views to a great degree on the value of the wood carving in four aspects; the community wisdom, way of life, historical and educational value. In addition, all the subjects suggested that the wood carving of Hortri was worth being studied and preserved, it should be introduce in the educational institute. Its value should be realized and appreciated. Having know the value and significance of the wood carving, these value should have better understanding and do more in preserving this particular art. | - |
dc.format.extent | 3486885 bytes | - |
dc.format.extent | 5955628 bytes | - |
dc.format.extent | 30315430 bytes | - |
dc.format.extent | 2406414 bytes | - |
dc.format.extent | 15727799 bytes | - |
dc.format.extent | 15476106 bytes | - |
dc.format.extent | 14249220 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2003.496 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | หอไตร | - |
dc.subject | ศิลปะกับสังคม | - |
dc.subject | การแกะสลักไม้ | - |
dc.subject | Arts and society | - |
dc.subject | Wood-carving | - |
dc.title | การศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณค่าศิลปะแกาะสลักไม้ในหอไตรภาคอีสานตอนล่างของผู้เชี่ยวชาญ อาจารย์ และนักศึกษาระดับปริญญาตรี โปรแกรมวิชาศิลปศึกษาและโปรแกรมวิชาศิลปกรรม สถาบันราชภัฏอุบลราชธานี | en |
dc.title.alternative | A study on opinions towards the value of Hortri wood carving in the lower north eastern region of the experts, teachers and undergraduate students in art education program and fine and applied art program, upon Ratchatani Rajabhat institute | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | ศิลปศึกษา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2003.496 | - |
Appears in Collections: | Edu - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Sakda_bo_front.pdf | 3.41 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sakda_bo_ch1.pdf | 5.82 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sakda_bo_ch2.pdf | 29.6 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sakda_bo_ch3.pdf | 2.35 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sakda_bo_ch4.pdf | 15.36 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sakda_bo_ch5.pdf | 15.11 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sakda_bo_back.pdf | 13.92 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.