Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25327
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุชาดา บวรกิติวงศ์-
dc.contributor.authorสมใจ จิตมั่น-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-11-22T08:37:00Z-
dc.date.available2012-11-22T08:37:00Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741738803-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25327-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractการวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อหาอำนาจการทดสอบของอัตราส่วนไลค์ลิฮูดไค-สแควร์ใน การวิเคราะห์โมเดลล็อกลิเนียร์เมื่อค่าสัดส่วนส่วนริม (marginal) และขนาดกลุ่มตัวอย่างเปลี่ยนไป สำหรับ ตาราง 2 ทาง (two-way table) ขนาด 2 X 2 และตาราง 3 ทาง (three-way table) ขนาด 2 X 2 X 2โดยใช้การจำลองสถานการณ์เทคนิคมอนติ คาร์โล ด้วยโปรแกรม SAS 6.12 สำหรับตาราง 2 ทาง แบ่งการจำลองสถานการณ์ออกเป็น 75 กรณี คือ กรณีที่ค่าสัดส่วนส่วนริมของแถวตั้งเป็น 50:50, 60:40, 70:30, 80:20 และ 90:10 และในแต่ละกรณีแบ่งค่าสัดส่วนส่วนริมของแถวนอนเป็น 50:50, 60:40, 70:30, 80:20 และ 90:10 เช่นกัน โดยแบ่งขนาดกลุ่มตัวอย่างมีขนาดเล็ก กลาง และใหญ่จำนวน 30, 60 และ 100 ตามลำดับ สำหรับตาราง 3 ทาง มีทั้งสิ้น 30 กรณี แบ่งค่าสัดส่วนส่วนริมของแถวตั้งเป็น 50:50, 60:40, 70:30, 80:20 และ 90:10 แบ่งค่าสัดส่วนส่วนริมของแถวนอนเป็น 25:25:25:25, 40:40:10:10 และ 50:30:15:5 ขนาดกลุ่มตัวอย่างมีขนาดเล็ก และขนาดใหญ่เท่ากับ 100 และ 300 ตามลำดับ หากกรณีใดที่อัตราความคลาดเคลื่อนประเภทที่ 1 ที่เกิดขึ้นจริงอยู่ในช่วงที่ระบุ จะทำการศึกษาอำนาจการ ทดสอบต่อไป ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1) สำหรับตาราง 2 ทาง กรณีที่ค่าสัดส่วนส่วนริมของแถวตั้งเป็น 50:50 เท่านั้นที่อัตราความคลาดเคลื่อนประเภทที่ 1 ที่เกิดขึ้นจริงอยู่ในช่วงที่ระบุ ค่าอำนาจการทดสอบมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นเมื่อกลุ่มตัวอย่างเพิ่มขึ้นและค่าสัดส่วนส่วนริมของแถวตั้งแตกต่างจากค่าสัคส่วนส่วนริม ของแถวนอนมากขึ้นไม่ว่าจะทดสอบด้วยโมเดลที่ต่ำกว่าหรือโมเดลที่สูงกว่า แต่เมื่อทดสอบด้วยโมเดลที่ สูงกว่าจะมีค่าอำนาจการทดสอบต่ำกว่าการทดสอบด้วยโมเดลที่ต่ำกว่า 2) สำหรับตาราง 3 ทาง พบว่า โมเดลอิทธิพลหลักทั้งหมด มีอัตราความคลาดเคลื่อนประเภทที่ 1 ที่เกิดขึ้นจริงอยู่ในช่วงที่ระบุมากที่สุด เมื่อพิจารณาค่าอำนาจการทดสอบ พบว่ามีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นเมื่อขนาดกลุ่มตัวอย่างเพิ่มสูงขึ้น และค่า สัดส่วนส่วนริมของแถวตั้งและค่าสัดส่วนส่วนริมชองแถวนอนเพิ่มมากขึ้น และนอกจากนี้ยังพบว่า โมเดล ที่มีอิทธิพลปฏิสัมพันธ์2 ปัจจัย 2 ตัวให้ค่าอำนาจการทดลอบสูงที่สุด รองลงมาคือ โมเดลที่เกิดอิทธิพล หลัก 2 ตัว-
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to seek power of the test of likelihood ratio chi-square in loglinear model analysis for 2 X 2 table and 2 X 2 X 2 table. SAS 6.12 was performed using the Monte Carlo technique. There were 75 cases in 2 way table along with column marginals 50:50, 60:40, 70:30, 80:20 and 90:10 and row marginals 50:50, 60:40, 70:30, 80:20 and 90:10. Three sample sizes were considered: small (30), medium (60) and large (100). There were 30 cases in 3 way table along with column marginals 50:50, 60:40, 70:30, 80:20 and 90:10 and row marginals 25:25:25:25, 40:40:10:10 and 50:30:15:5. Two sample sizes were considered: small (100) and large (300) when the test statistic could control Type I error rate, the power of the test then performed. The research results were as follows: 1) In2 way table with column marginal of 50:50 could control Type I error rates and power of the test increased when sample size increases and when column marginals were higher than row marginals. Power of the test for higher model lower than the test with lower model. 2) In 3 way table all single main effect models have Type I error rates more than other model. Power of the test increased when sample size, column marginal, and row marginal increased. The research results showed that the 2 interaction effect models had maximum power of the test, followed by the 2 single main effect models.-
dc.format.extent3436548 bytes-
dc.format.extent3833728 bytes-
dc.format.extent8924412 bytes-
dc.format.extent10348348 bytes-
dc.format.extent10393008 bytes-
dc.format.extent3598722 bytes-
dc.format.extent7672526 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleอำนาจการทดสอบของอัตราส่วนไลค์ลิฮูดไค-สแควร์ในการวิเคราะห์โมเดลล็อกลิเนียร์en
dc.title.alternativePower of the test of likelihood ratio chi-square in loglinear model analysisen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineสถิติการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Somchai_ch_front.pdf3.36 MBAdobe PDFView/Open
Somchai_ch_ch1.pdf3.74 MBAdobe PDFView/Open
Somchai_ch_ch2.pdf8.72 MBAdobe PDFView/Open
Somchai_ch_ch3.pdf10.11 MBAdobe PDFView/Open
Somchai_ch_ch4.pdf10.15 MBAdobe PDFView/Open
Somchai_ch_ch5.pdf3.51 MBAdobe PDFView/Open
Somchai_ch_back.pdf7.49 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.