Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25397
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปิยะศักดิ์ ชอุ่มพฤกษ์
dc.contributor.authorสุนีย์ ลิ้มศรีวาณิชยกร
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2012-11-22T10:39:18Z
dc.date.available2012-11-22T10:39:18Z
dc.date.issued2545
dc.identifier.isbn9741731639
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25397
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en
dc.description.abstractในขั้นตอนการผลิต กระบวนการแปรรูปนอกจากเป็นขั้นตอนที่มีผลต่อเนื้ออาหาร รสชาติ กลิ่น และคุณค่าทางอาหารแล้ว ภาวะต่างๆ ในกระบวนการแปรรูปยังมีผลต่อโมเลกุลที่เป็นองค์ประกอบในอาหารโดยเฉพาะดีเอ็นเอ ซึ่งในปัจจุบันนิยมใช้เป็นโมเลกุลอ้างอิงในการทดสอบอาหารในหลายกรณีรวมถึงการตรวจสอบ GMOs ดังนั้นเพื่อการศึกษาอิทธิพลของภาวะในการผลิตต่อโมเลกุลและประสิทธิภาพการทดสอบอาหารบนพื้นฐานของเทคนิค PCR จึงพัฒนาระบบทดสอบที่สามารถตรวจความแตกต่างของขนาดดีเอ็นเอแม่แบบ 119, 327 และ 826 นิวคลีโอไทด์ เพื่อตรวจภาวะการสลายตัวของดีเอ็นเอในเนื้ออาหาร และเมื่อนำระบบไปทดสอบที่ภาวะต่างๆในขณะแปรรูปอาหารที่มีถั่วเหลืองเป็นองค์ประกอบ เน้นภาวะความร้อน ความดัน และการหมักต่อความสามารถในการตรวจสอบดีเอ็นเอจากตัวอย่างอาหาร พบว่าการให้ความร้อนทั้งในรูปการอบแห้ง การนึ่งความดัน และการต้มน้ำนมถั่วเหลืองเป็ระยะเวลานาน ทำให้ดีเอ็นเอในเนื้ออาหารมีขนาดที่ลดลงจนไม่สามารถตรวจสอบได้โดยเทคนิค PCR โดยอุณหภูมิและเวลาวิกฤตที่ทำให้ดีเอ็นเอมีขนาดลดลงต่ำกว่า 119, 327 และ 826 นิวคลีโอไทด์ ในกรณีของการอบแห้งอยู่ที่สูงกว่า 220, 210 และ 200 องศาเซลเซียสตามลำดับแม้จะอบเพียง 5 นาที การนึ่งความดันเวลาวิกฤตอยู่ที่สูงกว่า 60, 15 และ 10 นาทีตามลำดับ และการต้มน้ำนมถั่วเหลืองเป็นระยะเวลานานเวลาวิกฤตอยู่ที่สูงกว่า 15, 5 และ 2 ชั่วโมงตามลำดับ ขณะที่กระบวนการหมักพบว่ามีผลต่อดีเอ็นเอที่สกัดได้เช่นเดียวกันโดยทำให้ดีเอ็นเอมีขนาดลดลง แม้ภายใน 7 วันสามารถทำให้ดีเอ็นเอมีขนาดต่ำกว่า 327 นิวคลีโอไทด์ ผลที่ได้เป็นพื้นฐานในการพัฒนาวิธีการพัฒนาวิธีการตรวจสอบและวิธีการแปรรูปอาหารต่อไป
dc.description.abstractalternativeThe processing conditions during food production not only affect texture, smell and taste, and nutritional values but also damage the macromolecules especially DNA found in most food ingredients. DNA molecule has been recently used as a reference molecule for food testing in several testing categories including the determination of GMOs in foods. Thus, to address the influence of processing conditions on DNA testing quality, the system for DNA detection that specific binding and checking DNA template at fixed size from 119 to 237 to 826 nucleotides, respectively, was developed and used to test on various soybean food processing conditions. It was found that heat treatments of both dry heat or heat under sterilization or a long period of simmering damaged DNA molecule by decreasing its length down to level undetectable by PCR technique. The critical temperature which damaged DNA to the size below 119, 327 and 826 nucleotides for dry heat at 5 minutes was found at above 220, 210 and 200℃ respectively. For standard heat sterilization, critical time was found at time longer than 60, 15 and 10 minutes respectively, and for long time simmering, critical time was found at time longer than 15, 5 and 2 hours, respectively. Fermentation effect was also in consistence with heat effect and sterilization treatment in that critical time for DNA degradation to below 327 nucleotide was within 7 days. Results constitute a basis for PCR detection of foods containing GMOs materials as well as a basis for processing food.
dc.format.extent3177439 bytes
dc.format.extent1889645 bytes
dc.format.extent5926721 bytes
dc.format.extent2706990 bytes
dc.format.extent10694181 bytes
dc.format.extent3224331 bytes
dc.format.extent4978551 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการตรวจสอบการปะปนของผลิตภัณฑ์อาหารดัดแปรพันธุกรรมในผลิตภัณฑ์อาหารที่มีถั่วเหลืองเป็นองค์ประกอบ : ภาวะของกระบวนการแปรรูปต่อความสามารถในการตรวจสอบen
dc.title.alternativeDetection of the mingling of the genetically modified food and their products in food derived from soy bean: the processing conditions on detection abilitiesen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีทางชีวภาพes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sunee_li_front.pdf3.1 MBAdobe PDFView/Open
Sunee_li_ch1.pdf1.85 MBAdobe PDFView/Open
Sunee_li_ch2.pdf5.79 MBAdobe PDFView/Open
Sunee_li_ch3.pdf2.64 MBAdobe PDFView/Open
Sunee_li_ch4.pdf10.44 MBAdobe PDFView/Open
Sunee_li_ch5.pdf3.15 MBAdobe PDFView/Open
Sunee_li_back.pdf4.86 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.