Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2562
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชัยณรงค์ โลหชิต-
dc.contributor.advisorสุดสรร ศิริไวทยพงศ์-
dc.contributor.advisorอัจฉริยา ไศละสูต-
dc.contributor.authorสุกัญญา มณีอินทร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-09-18T06:05:04Z-
dc.date.available2006-09-18T06:05:04Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.isbn9741717687-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2562-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en
dc.description.abstractศึกษาการใช้ด็อกโซรูบิซิน ในการลดขนาดมะเร็งเต้านมในสุนัข โดยศึกษาความเปลี่ยนแปลงขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของก้อนมะเร็ง และลักษณะทางจุลพยาธิวิทยาก่อนและหลังการให้ด็อกโซรูบิซินในขนาด 30 มิลลิกรัม ต่อพื้นที่ผิวร่างกาย (ตารางเมตร) ในสุนัขเพศเมียจำนวน 15 ราย แบ่งเป็น 3 กลุ่มตามขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของก้อนมะเร็ง กลุ่มที่ 1 ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางน้อยกว่า 3 เซนติเมตร กลุ่มที่ 2 ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 3-5 เซนติเมตร กลุ่มที่3 ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางตั้งแต่ 5 เซนติเมตรขึ้นไป ผลการศึกษาพบว่าขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของก้อนมะเร็ง ก่อนและหลังการให้ยาครั้งสุดท้าย 21 วัน ทั้ง 3 กลุ่ม ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p > 0.05) มีการเปลี่ยนแปลงในระดับการลดลงมากกว่าหรือเท่ากับ 50% 2 ราย (13.33%) พบขนาดลดลงน้อยกว่า 50% โดยไม่มีการงอกใหม่ 11 ราย (73.34%) และพบการไม่ลดขนาดลงหรือขนาดเพิ่มขึ้น พร้อมทั้งมีการเกิดของก้อนเนื้อใหม่จำนวน 2 ราย (13.33%) มีการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางจุลพยาธิวิทยา โดยมีการเพิ่มขึ้นของคอลลาเจนและเนื้อเยื่อพังผืดจำนวน 3 ราย จากผลการศึกษาครั้งนี้ การใช้ด็อกโซรูบิซินเพียงอย่างเดียว ยังไม่สามารถนำมาใช้ในการรักษามะเร็งเต้านมในสุนัขได้en
dc.description.abstractalternativeTo investigate the effect of doxorubicin chemotherapy 30 mg/sq.m on canine mammary tumors. The diameter of tumor mass and histopathological changes were determined before and after treatment observed in 21 days. Data obtained from 15 dogs with malignant mammary tumors which divided into 3 groups by diameter ; <3 cm., 3-5 cm. and >5 cm. The results showed that diameters before and after treatment were not statistical difference (p>0.05). Results demonstrated partial remission (PR) in 2 dogs (13.33%), stable disease (SD) in 11 dogs (73.34%) and progressive disease (PD) in 2 dogs (13.33%). Histopathological changes showed more collagen and fibroblast cells in 3 dogs. It can be concluded that doxorubicin 30 mg/sq.m alone is unable to decrease canine mammary tumor size.en
dc.format.extent1055664 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectสุนัข -- โรค -- การรักษาen
dc.subjectด๊อกโซรูบิซินen
dc.subjectเต้านม -- มะเร็งen
dc.titleการศึกษาการใช้ ด๊อกโซรูบิซิน ในการลดขนาดมะเร็งเต้านมในสุนัขen
dc.title.alternativeStudy of doxorubicin Chemotherapy for canine malignant mammary gland tomorsen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineวิทยาการสืบพันธุ์สัตว์en
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorChainarong.L@Chula.ac.th-
dc.email.advisorSudson.S@Chula.ac.th-
dc.email.advisorAchariya.Sa@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Vet - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sukanya.pdf1.67 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.