Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2565
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดวงสมร สุวัฑฒน-
dc.contributor.advisorมีนา สาริกะภูติ-
dc.contributor.authorศิริลักษณ์ เตชะนรราช, 2520--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-09-18T06:20:01Z-
dc.date.available2006-09-18T06:20:01Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.isbn9741715714-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2565-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en
dc.description.abstractการศึกษาจีโนไทป์ของยีนแคปปา-เคซีน ที่ควบคุมปริมาณแคปปา-เคซีนที่ส่งผลต่อปริมาณและคุณภาพของโปรตีนในน้ำนม ในพ่อพันธุ์โคนมของกองผสมเทียม กรมปศุสัตว์จำนวน 60 ตัว แบ่งเป็นกลุ่มพ่อโคพันธุ์แท้ Holstein-Friesian จำนวน 15 ตัว และกลุ่มพ่อโคลูกผสมที่มีสายเลือดของพันธุ์ Holstein-Friesian ในระดับเลือด 75 เปอร์เซ็นต์ขึ้นไป จำนวน 45 ตัว โดยใช้วิธี Polymerase Chain Reaction-Restriction Fragment Length Polymorphism (PCR-RFLP) พบยีนแคปปา-เคซีนทั้งสิ้น 3 ชนิด ได้แก่ A, B และ E ความถี่ของอัลลีลเป็น 0.6, 0.33 และ 0.07 ตามลำดับ ในกลุ่มพ่อโคพันธุ์แท้ และ 0.74, 0.17 และ 0.09 ตามลำดับ ในกลุ่มพ่อโคลูกผสม และพบลักษณะจีโนไทป์ทั้งสิ้น 5 แบบ ได้แก่ AA, AB, BB, AE และ BE ความถี่จีโนไทป์เป็น 0.34, 0.4, 0.13, 0.13 และ 0 ตามลำดับ ในกลุ่มพ่อโคพันธุ์แท้ และ 0.56, 0.27, 0, 0.11 และ 0.06 ตามลำดับ ในกลุ่มพ่อโคลูกผสม เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของความถี่อัลลีลและ ความถี่จีโนไทป์ในพ่อโคแต่ละกลุ่ม ไม่พบความแตกต่างกันในทางสถิติระหว่างพ่อโคทั้ง 2 กลุ่ม แสดงให้เห็นว่าความถี่ของอัลลีล A, B และ E และความถี่จีโนไทป์ AA, AB, BB, AE และ BE ในกลุ่มพ่อโคพันธุ์แท้ไม่ต่างกับกลุ่มพ่อโคลูกผสม ทั้งนี้อาจเนื่องจากเป้าหมายการปรับปรุงพันธุ์ โคนมในกลุ่มที่นำมาศึกษาไม่ได้มุ่งเน้นไปในลักษณะทางด้านโปรตีนในน้ำนมแต่มุ่งเน้นไปที่ปริมาณน้ำนมเป็นหลัก นอกจากนี้การตรวจหาจีโนไทป์ของแคปปา-เคซีนในพ่อพันธุ์โคนมด้วย วิธี PCR-RFLP ทำให้ทราบการกระจายตัวของอัลลีลชนิดต่าง ๆ ในฝูงพ่อพันธุ์โคนม และยังอาจใช้ จีโนไทป์ของแคปปา-เคซีนเป็นดัชนีตัวหนึ่งในการคัดเลือกพ่อโคเพื่อปรับปรุงลักษณะทางด้านโปรตีนในน้ำนมได้ในอนาคตen
dc.description.abstractalternativeFifteen purebred (Holstein-Friesian) sires and 45 crossbred (more than 75 percent Holstein-Friesian) sires from Division of Artificial Insemination (AI), Department of Livestock Development were investigated on genotypes of kappa-casein by Polymerase Chain Reaction-Restriction Fragment Length Polymorphism (PCR-RFLP). Allelic frequencies of A, B and E were 0.6, 0.33 and 0.07 respectively in purebred sires and 0.74, 0.17 and 0.09 respectively in crossbred sires. Genotypic frequencies of AA, AB, BB, AE and BE were 0.34, 0.4, 0.13, 0.13 and 0 respectively in purebred sires and 0.56, 0.27, 0, 0.11 and 0.06 respectively in crossbred sires. There were no differences found when allelic and genotypic frequencies were compared on both purebred and crossbred sires. In conclusion, the proposed method will be a valuable tool for the early selection of AI sires by using kappa-casein genotype as genetic marker. The method is hoped to be integrated into the regular program of sire selection in the future.en
dc.format.extent719174 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectน้ำนมen
dc.subjectโคนมen
dc.subjectจีโนไทป์en
dc.subjectแคปปา-เคซีนen
dc.titleการศึกษาจีโนไทป์ของแคปปา-เคซีนในพ่อพันธุ์โคนมของกองผสมเทียมen
dc.title.alternativeGenotypes of kappa-casein in dairy sires in Division of Artificial Inseminationen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineการปรับปรุงพันธุ์สัตว์en
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorDuangsmorn.S@Chula.ac.th-
dc.email.advisorMeena.S@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Vet - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sirilux_Te.pdf828.32 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.