Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25699
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อุทัย ตันละมัย | - |
dc.contributor.author | ทิพากร ปัทมานนท์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี | - |
dc.date.accessioned | 2012-11-23T09:35:51Z | - |
dc.date.available | 2012-11-23T09:35:51Z | - |
dc.date.issued | 2547 | - |
dc.identifier.isbn | 9741762445 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25699 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 | en |
dc.description.abstract | ภายใต้กรอบแนวคิดการพัฒนาระบบสารสนเทศ การวิจัยนี้ศึกษาถึงความสัมพันธ์ของการรับรู้ความสำคัญต่อปัจจัยเสียงในการพัฒนาระบบต้นทุนฐานกิจกรรมของผู้ใช้และความสำเร็จของระบบ ระบบดังกล่าวเป็นระบบที่ริเริ่มจากผู้ใช้และพัฒนาขึ้นเองภายในองค์กร ข้อมูลวิจัยมาจากการเก็บข้อมูล เชิงสำรวจจากกลุ่มผู้พัฒนาระบบและผู้ใช้ระบบของรัฐวิสาหกิจขนาดใหญ่แห่งหนึ่งที่ได้นำระบบต้นทุน ฐานกิจกรรมมาใช้ในองค์กรประมาณ 5 ปี อัตราตอบกลับของผู้พัฒนาระบบและผู้ใช้ระบบ คือ 63.33% และ 52.68% ตามลำดับ ผลวิจัยพบว่าผู้พัฒนาระบบและผู้ใช้ระบบมีความแตกต่างกันในความเห็นเกี่ยวกับปัจจัยเสียง และการรับรู้ความสำคัญของปัจจัยเสียงทั้งด้านการวิเคราะห์ระบบ โดยผู้ใช้ระบบมีความเห็นเกี่ยวกับ ปัจจัยเสี่ยงในแง่ลบมากกว่าและให้ความสำคัญน้อยกว่าผู้พัฒนาระบบอย่างมีนัยสำคัญ นั่นคือ ผู้ตอบ แบบสอบถามส่วนใหญ่ระบุเห็นว่าการกำหนดวัตถุประสงค์ของระบบต้นทุนกิจกรรมไม่ชัดเจนไม่แน่นอน และไม่ตรงความต้องการ แม้ว่าผู้พัฒนาระบบจะได้รับการสนับสนุนจากผู้บริหารในการพัฒนาระบบแต่ ผู้บริหารก็ไม่ได้มีส่วนร่วมในการพัฒนานัก และผู้ใช้ระบบส่วนใหญ่เห็นว่าระบบยังไม่ประสบความสำเร็จ เพราะไม่ได้นำข้อมูลจากระบบไปช่วยในการตัดสินใจและไม่ยอมรับระบบดังกล่าวมากนัก ผลวิจัยสนับสนุนความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ปัจจัยเสี่ยงและความสำเร็จในการพัฒนาระบบ ต้นทุนฐานกิจกรรม นั่นคือถ้ายิ่งมีความไม่ชัดเจนของวัตถุประสงค์ หรือ ความไม่แน่นอนของวัตถุประสงค์ และการระบุหน่วยต้นทุน ทรัพยากร และกิจกรรม ที่ไม่ตรงตามความต้องการมากเท่าไร ผู้ใช้ระบบก็ยิ่งใช้ ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจและยอมรับระบบน้อยเท่านั้น และแม้ว่าผู้พัฒนาระบบจะรับรู้ความสำคัญของการ สนับสนุนจากผู้บริหารระดับสูงมากเพียงใด แต่ก็ไม่ทำให้เกิดความสำเร็จของการพัฒนาระบบต้นทุนฐาน กิจกรรมมากขึ้นตามไป เพราะผู้พัฒนาระบบและผู้ใช้ระบบมีความเห็นว่าผู้บริหารระดับสูงมีส่วนร่วมใน การพัฒนาระบบและการใช้ระบบไม่มากนัก | - |
dc.description.abstractalternative | Using the information systems development framework, this research studies the relationship between the perceived importance of risk factors and the success and failure of an activity-based costing system. The system was initiated and developed internally and by a group of users. Survey data were collected from both the developing team and the users of a large state enterprise that has used the system for about 5 years. The response rates for the former and the latter are 63.33% and 52.68% subsequently. Results show that both developers and users differed significantly in the extent and the perceived importance of the risk factors of the activity-based costing systems. The users appeared to be more negative in their perception than the developers. The majority of respondents viewed that the system objectives had not been clearly defined. Also, the system objectives were often changed and did not satisfy the needs of the users. Although the developer team rated higher on the management supports than the users, they both did not see a high involvement of management on the project. Both the developing team and the users saw the systems as being not successful since they indicated that they had not used the information from the systems in making decisions nor did they accept the systems themselves. The result showed supports to the relationships between systems development risk factors and the success of the systems. Specifically, the more unclear and uncertain objectives and the greater the unmatched requirements, the less successful were the systems as seen by their users. Even though the developers perceived relatively high supports from management, the systems were not found successful as management involvement was found to be indifferent. | - |
dc.format.extent | 2951429 bytes | - |
dc.format.extent | 3082920 bytes | - |
dc.format.extent | 3299025 bytes | - |
dc.format.extent | 3449611 bytes | - |
dc.format.extent | 4754353 bytes | - |
dc.format.extent | 8273938 bytes | - |
dc.format.extent | 1602147 bytes | - |
dc.format.extent | 17933207 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | การรับรู้ความสำคัญต่อปัจจัยเสี่ยงในการพัฒนาระบบและความสำเร็จของระบบต้นทุนฐานกิจกรรม : กรณีของผู้ใช้ระบบในการไฟฟ้านครหลวง | en |
dc.title.alternative | Perceived importance of the system development risk factors and the success of an activity-based costing system: the case of the metrolitan electricity authority users | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | เทคโนโลยีสารสนเทศทางธุรกิจ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Acctn - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Tipakorn_pa_front.pdf | 2.88 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Tipakorn_pa_ch1.pdf | 3.01 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Tipakorn_pa_ch2.pdf | 3.22 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Tipakorn_pa_ch3.pdf | 3.37 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Tipakorn_pa_ch4.pdf | 4.64 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Tipakorn_pa_ch5.pdf | 8.08 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Tipakorn_pa_ch6.pdf | 1.56 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Tipakorn_pa_back.pdf | 17.51 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.