Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2576
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมาริษศักร์ กัลล์ประวิทธ์-
dc.contributor.advisorปราณี ตันติวนิช-
dc.contributor.authorภาสกร พฤกษะวัน, 2516--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-09-18T07:44:42Z-
dc.date.available2006-09-18T07:44:42Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9741761953-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2576-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en
dc.description.abstractการศึกษาผลของการใช้หลอดสวนหลอดเลือดดำเป็นวัสดุปลูกฝังภายในช่องหน้าม่านตาเพื่อลดความดันภายในลูกตาทำในสุนัขทดลองจำนวน 10 ตา และสุนัขที่ป่วยเป็นต้อหินจำนวน 6 ตา โดยตรวจและวัดความดันภายในลูกตาทุกวันติดต่อกันเป็นเวลา 2 สัปดาห์ในสุนัขทดลองและทุกวันติดต่อกันเป็นเวลา 1 สัปดาห์ และสัปดาห์ละครั้งจนครบ 8 สัปดาห์ในสุนัขป่วย ประเมินผลโดยการเปรียบเทียบความดันภายในลูกตาก่อนและหลังการทำศัลยกรรม ปฏิกิริยาปฏิเสธของลูกตาต่อหลอดสวนหลอดเลือดดำ และอาการแทรกซ้อนที่พบภายหลังทำศัลยกรรม จากการศึกษาพบว่าความดันภายในลูกตาของสุนัขทดลองในวันที่ 7 และ 14 ลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) โดยมีความดันภายในลูกตาเฉลี่ย +- ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของค่าเฉลี่ยเท่ากับ 12.63+-0.6 และ 12.04+-0.44 มิลลิเมตรปรอทตามลำดับ สุนัขทุกตัวยังคงมองเห็นเป็นปกติและไม่มีอาการแทรกซ้อนที่รุนแรง จากการใช้วัสดุดังกล่าว ส่วนในสุนัขป่วยพบว่ามี 3 ตาที่ประสบผลสำเร็จและสามารถติดตามผลจนสิ้นสุดการวิจัย โดยความดันภายในลูกตาในวันที่ 56 หลังทำศัลยกรรมลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) โดยมีความดันภายในลูกตาเฉลี่ย +- ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของค่าเฉลี่ยเท่ากับ 20.77 +- 1.36 มิลลิเมตรปรอท และไม่มีอาการแทรกซ้อนที่รุนแรงจากการใช้วัสดุดังกล่าว อีก 2 ตาที่เป็นต้อหินมีความดันภายในลูกตาลดลงจากก่อนการทำศัลยกรรมแต่ยังคงสูงกว่าเกณฑ์ปกติ ส่วนตาสุดท้ายมีความดันเพิ่มสูงขึ้นกว่าก่อนทำศัลยกรรมเนื่องจากอาการแทรกซ้อนภายหลังทำศัลยกรรมen
dc.description.abstractalternativeThe use of intravenous catheter implants for reducing intraocular pressure (IOP) was studied in 10 eyes of experimental dogs and 6 eyes of dogs with glaucoma. Preoperative and postoperative IOP were measured. The eyes of experimental dogs were examined and the IOP was measured everyday for 2 weeks postoperation. The IOP of the glaucomatous eyes was measured everyday for 1 week and once a week until 8 weeks postoperation. Biocompatability of intravenous catheters and eye, and the postoperative complications were observed. Results demonstrated that the IOP of the eyes of the experimental dogs at day 7 and 14 decreased significantly (p<0.05). The mean IOP +- SE at day 7 and 14 were 12.63 +- 0.6 and 12.04 +- 0.44 mmHg, respectively. All eyes had clinically normal vision without any severe postoperative complications from the intravenous catheter implantation. In glaucomatous eyes, the IOP of 3 eyes was successfully reduced significantly (p<0.05) without any severe postoperative complications. The mean IOP +- SEat day 56 was 20.77 +- 1.36 mmHg. Other 2 glaucomatous eyes had decreased IOP after the operation but the pressure were still higher than the normal range. The last glaucomatous eye had increased IOP after the operation due to the severe postoperative complication.en
dc.format.extent1542526 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectต้อหิน -- การรักษาen
dc.subjectสุนัขen
dc.titleการใช้หลอดสวนหลอดเลือดดำเป็นวัสดุปลูกฝังเพื่อลดความดันภายในภายในลูกตาสุนัขen
dc.title.alternativeUse of intravenous catheter implants for reducing intraocular pressure in dogsen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineศัลยศาสตร์ทางสัตวแพทย์en
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorMarissak.K@Chula.ac.th-
dc.email.advisorPranee.T@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Vet - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pasakorn.pdf1.25 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.