Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25818
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พรรณทิพย์ เภกะนันทน์ | - |
dc.contributor.author | สมศักดิ์ ภู่วิภาดาวรรธน์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2012-11-24T07:42:45Z | - |
dc.date.available | 2012-11-24T07:42:45Z | - |
dc.date.issued | 2518 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25818 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2518 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาการเรียนมโนทัศน์ของนักศึกษาวิทยาลัยครูสกลนคร และศึกษาความยากง่ายในการเรียนมโนทัศน์แต่ละประเภท กลุ่มตัวอย่างที่ใช้มีจำนวน 80 คน เป็นนักศึกษาชั้น ป.กศ. ปีที่ 2 ชาย 20 คน หญิง 20 คน และชั้น ป.กศ. สูงปีที่ 2 ชาย 20 คน หญิง 20 คน ในการทดลองผู้รับการทดลองจะเข้ารับการทดลองเป็นรายบุคคล ซึ่งแต่ละคนจะต้องเรียนมโนทัศน์ทั้ง 6 ประเภท โดยวิธีการสุ่มว่าจะเรียนมโนทัศน์ประเภทใด ก่อน-หลัง มโนทัศน์ทั้ง 6 ประเภทมีดังนี้ 1. มโนทัศน์ ประเภทรูปร่าง-จำนวน 2. มโนทัศน์ประเภทรูปร่าง-สี 3. มโนทัศน์ประเภทรูปร่าง-เส้นรอบรูป 4. มโนทัศน์ประเภทจำนวน-สี 5. มโนทัศน์ประเภทจำนวน-เส้นรอบรูป 6. มโนทัศน์ประเภทสี-เส้นรอบรูป การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวน 3 ชั้น (Three Way Analysis of Variance with repeated measures on one factor) โดยมีระดับชั้น เพศ และประเภทมโนทัศน์ เป็นตัวแปรอิสระ คะแนนจำนวนครั้งถึงเกณฑ์กำหนดเป็นตัวแปรตาม ผลจากการวิจัยครั้งนี้มีดังนี้ 1. นักศึกษาชั้น ป.กศ. ปีที่ 2 และ ป.กศ. สูงปีที่ 2 เรียนมโนทัศน์ได้แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิตที่ระดับ .01 2. นักศึกษาชายและหญิงเรียนมโนทัศน์ได้ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. มโนทัศน์ต่างประเภทกัน เรียนได้ยากง่ายแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 นอกจากนี้ยังพบว่ามโนทัศน์ประเภทรูปร่าง-เส้นรอบรูป เรียนได้ง่ายที่สุด และมโนทัศน์ประเภทสี-จำนวน เป็นมโนทัศน์ที่เรียนได้ยากที่สุด | - |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research was to study the concept learning of Sakonnakron Teacher College students and to study the degree of difficulty in learning each concept. Subjects were 80 students: 20 females from the second year of Certificated of Education and 20 males, 20 females from the second year of Higher Certificated of Education. In the experiment each subject was designed to learn six concepts randomly : form-number, and colour-border. Analysis of Variance with repeated measures on one factor was used to analize data. Class level, sex and type of concepts were independent variables and number of trials to criterion was dependent variable. The major findings of this research were as follows : 1. There was significant difference (P<.01) in concept learning between the second year of Certificated of Education students and the second year of Higher Certificated of Education. 2. There was no significant difference (P > .05) in concept learning between male and female students. 3. There was significant difference (P <.01) in the degree of difficulty in learning each concept. The form-border concept was found out to be the easiest concept to learn and the colour-number concept was the most difficult. | - |
dc.format.extent | 418757 bytes | - |
dc.format.extent | 1054648 bytes | - |
dc.format.extent | 493893 bytes | - |
dc.format.extent | 591656 bytes | - |
dc.format.extent | 449882 bytes | - |
dc.format.extent | 333274 bytes | - |
dc.format.extent | 635146 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | ความคิดรวบยอด | - |
dc.subject | นักศึกษาวิทยาลัยครู | - |
dc.title | การเรียนมโนทัศน์ของนักศึกษาวิทยาลัยครูสกลนคร | en |
dc.title.alternative | Concept learning of Sakonnakorn Teacher College students | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | จิตวิทยาการศึกษา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Somsak_Ph_front.pdf | 408.94 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Somsak_Ph_ch1.pdf | 1.03 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Somsak_Ph_ch2.pdf | 482.32 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Somsak_Ph_ch3.pdf | 577.79 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Somsak_Ph_ch4.pdf | 439.34 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Somsak_Ph_ch5.pdf | 325.46 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Somsak_Ph_back.pdf | 620.26 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.