Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2593
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กัมปนาท สุนทรวิภาต | - |
dc.contributor.advisor | อติชาต พรหมาสา | - |
dc.contributor.author | กัลยดา มังคละพฤกษ์, 2523- | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2006-09-18T10:23:02Z | - |
dc.date.available | 2006-09-18T10:23:02Z | - |
dc.date.issued | 2547 | - |
dc.identifier.isbn | 9745318981 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2593 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 | en |
dc.description.abstract | การเชื่อมแนวประสานเชิงกรานส่วนหน้าของสุนัขโดยใช้แผ่นโลหะดามกระดูกและสกรู ในสุนัขทดลอง 5 ตัว และสุนัขที่เป็นโรคข้อสะโพกเจริญผิดปกติในระยะเริ่มต้น 10 ตัว โดยหาทำศัลยกรรมตัด 1 ใน 3 ของแนวประสานเชิงกรานส่วนหน้า และเชื่อมด้วยแผ่นโลหะดามกระดูกและสกรู ประเมินผลจากการใช้ขาของสุนัข และวัดมุม NA, DARS และ DAR จากภาพถ่ายเอ็กซเรย์ ก่อนทำศัลยกรรม และทันที 1 เดือน และ 3 เดือนหลังทำศัลยกรรม พบว่า NA และ DAR เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ในขณะที่ DARS ลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ภายหลังทำศัลยกรรมในสุนัขทั้ง 2 กลุ่ม 75% ของข้อสะโพกสุนัขป่วยทั้งหมด (15 ใน 20 ข้อสะโพก) ไม่มี Ortolani sign ภายหลังทำศัลยกรรม และไม่พบอาการแทรกซ้อนใดๆ ในสุนัขทดลองภายหลังการทำศัลยกรรม สุนัขป่วยซึ่งเดินกะเผลกก่อนทำศัลยกรรม สามารถก้าวเป็นปกติหลังผ่าตัด 1 สัปดาห์ จากการศึกษานี้สรุปได้ว่า การเชื่อมแนวประสานเชิงกรานส่วนหน้าของสุนัขโดยใช้แผ่นโลหะดามกระดูกและสกรู สามารถใช้เป็นทางเลือกหนึ่งสำหรับรักษาโรคข้อสะโพกเจริญผิดปกติได้ | en |
dc.description.abstractalternative | Pubic symphysiodesis (PS) by using a bone plate and screws was performed in 5 experimental dogs and 10 hip dysplastic dogs that had been diagnosed and classified as grade I according to clinical and radiographic findings. After resection of cranial one third of pubic symphysis, the rest of the symphysis was fixed by using a dynamic compression plate and screws. Animal gait, Norberg angle (NA), dorsal acetabular rim slope (DARS) and dorsal acetabular rim angle (DARA) were evaluated before, immediate, 1 and 3 months after surgery from radiographs. NA and DAR of both groups of dogs were significantly (p<0.05) greater than the preoperative values while DARS was less than the preoperative values. After surgery, negative Ortolani sign was found in 75% of the dysplastic dogs. No complication was observed in experimental dogs. The dysplastic dogs with preoperative lameness had normal gaits after 1 postoperative week. In conclusion, PS technique using a bone plate and screws can be used as an alternative treatment of canine hip dysplasia. | en |
dc.format.extent | 6587155 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | en |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | กระดูก -- ศัลยกรรม | en |
dc.title | การบำบัดโรคข้อสะโพกเจริญผิดปกติในสุนัขโดยการเชื่อมแนวประสานเชิงกรานส่วนหน้า | en |
dc.title.alternative | The pubic symphysiodesis for optional treatment of canine hip dysplasia | en |
dc.type | Thesis | en |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en |
dc.degree.discipline | ศัลยศาสตร์ทางสัตวแพทย์ | en |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Kumpanart.S@Chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | Atichat.B@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Vet - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
kanyada.pdf | 6.99 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.