Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25998
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กิดานันท์ มลิทอง | - |
dc.contributor.author | กาญจนิดา กิตติสุบรรณ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2012-11-26T03:02:45Z | - |
dc.date.available | 2012-11-26T03:02:45Z | - |
dc.date.issued | 2546 | - |
dc.identifier.isbn | 9741736797 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25998 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาผลของการจัดผังกราฟิกแบบจำแนกประเภทโดยผู้เรียนและโดยโปรแกรมในบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่อง สารรอบตัว ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสมุทรสาครบูรณะ จังหวัดสมุทรสาคร สังกัดกรมสามัญศึกษากระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งได้มาจากการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย จำนวน 100 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 2 กลุ่มๆละ 50 คน จัดเป็นกลุ่มทดลองดังนี้ กลุ่มทดลองที่ 1 เรียนบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยที่ผู้เรียนเป็นผู้จัดผังกราฟิกแบบจำแนกประเภท กลุ่มทดลองที่ 2 เรียนบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยที่โปรแกรมกำหนดให้คอมพิวเตอร์จัดผังกราฟิกแบบจำแนกประเภท วิเคราะห์โดยการหาค่าที (t-test) ที่ระดับนัยสำคัญสำคัญทางสถิติ .05 ผลการวิจัยพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง สารรอบตัว ของผู้เรียนทั้ง 2 กลุ่ม ที่จัดกราฟิกแบบจำแนกประเภทต่างกัน มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | - |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research was to compare the effects of classify graphic organizer arranged by learner and by program in computer - assisted instruction lessons on surrounding substances upon learning achievement of mathayom suksa one students. The subjects were 100 students of Samutsakhonburana school, Samusakhon. The subjects were randomly assigned and divided into 2 groups. Each group consisted of 50 student as follow : in the first group the students arranged their own classify graphic organizer and in the second group the computer program arranged the classify graphic organizer for students. The results of the study showed that, there was a statistically significant difference at 0.05 level. | - |
dc.format.extent | 2107723 bytes | - |
dc.format.extent | 3704504 bytes | - |
dc.format.extent | 13524632 bytes | - |
dc.format.extent | 1534305 bytes | - |
dc.format.extent | 605521 bytes | - |
dc.format.extent | 1676176 bytes | - |
dc.format.extent | 7939537 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | ผลของผังกราฟิกแบบจำแนกประเภทจัดโดยผู้เรียนและโดยโปรแกรมในบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่อง สารรอบตัวที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 | en |
dc.title.alternative | Effects of classify graphic organizer arranged by learner and program in computer-assisted instruction lessons on surrounding substances upon learning achievement of mathayom suksa one students | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | โสตทัศนศึกษา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Edu - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Kanjanida_ki_front.pdf | 2.06 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Kanjanida_ki_ch1.pdf | 3.62 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Kanjanida_ki_ch2.pdf | 13.21 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Kanjanida_ki_ch3.pdf | 1.5 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Kanjanida_ki_ch4.pdf | 591.33 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Kanjanida_ki_ch5.pdf | 1.64 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Kanjanida_ki_back.pdf | 7.75 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.