Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26097
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมานิตย์ จุมปา
dc.contributor.advisorวรเจตน์ ภาคีรัตน์
dc.contributor.authorเกสสุดา มุสิกะปาน
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์
dc.date.accessioned2012-11-26T06:36:37Z
dc.date.available2012-11-26T06:36:37Z
dc.date.issued2546
dc.identifier.isbn9741741696
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26097
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้มีจุดมุ่งหมายที่จะศึกษาสภาพปัญหาที่เกี่ยวกับการขอให้พิจารณาใหม่ในชั้นเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครอง ทั้งที่เป็นปัญหาในทางวิชาการและปัญหาในทางปฏิบัติ โดยเปรียบเทียบกับการขอให้พิจารณาใหม่ในชั้นเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองในต่างประเทศ ผลการวิจัยพบว่า ปัญหาสำคัญของการขอให้พิจารณาใหม่ในชั้นเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครอง ได้แก่ ปัญหาในเรื่องของแนวความคิดเกี่ยวกับการขอให้เจ้าหน้าที่ทบทวนคำสั่งทางปกครองโดยการขอให้พิจารณาใหม่ เนื่องจากบทบัญญัติในมาตร 54 พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 ได้กำหนดหลักเกณฑ์ในเรื่องดังกล่าวไว้ไม่ชัดเจนก่อให้เกิดความสับสนในการบังคับใช้กฎหมายที่เกิดจากการตีความไม่สอดคล้องกับเจตนารมณ์ของกฎหมายในเรื่องขอให้พิจารณาใหม่ในชั้นเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครอง ซึ่งเป็นเรื่องที่ระบบกฎหมายมีเจตนารมณ์ที่จะอำนวยความยุติธรรมให้แก่ประชาชนผู้ตกอยู่ภายใต้บังคับของคำสั่งทางปกครอง โดยการให้สิทธิแก่คู่กรณียื่นคำขอให้เจ้าหน้าที่ทบทวนคำสั่งทางปกครองอีกครั้งหนึ่งภายหลังจากที่คำสั่งทางปกครองนั้นมีผลบังคับผูกพันหรือเป็นที่สุด นอกจากนี้ยังมีปัญหาในเรื่องของความไม่ครอบคลุมของเหตุแห่งการขอให้พิจารณาใหม่บางประการ ตลอดจนอำนาจของเจ้าหน้าที่ในการทำคำสั่งในกระบวนพิจารณาชั้นขอให้พิจารณาใหม่ซึ่งอาจกระทบต่อหลักความมั่นคงแน่นอนของกฎหมาย และทำให้สิทธิเสรีภาพของประชาชนไม่ได้รับการคุ้มครองเท่าที่ควร ดังนั้น ควรแก้ไขปรับปรุงหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการขอให้พิจารณาใหม่ให้สอดคล้องกับเจตนารมณ์ของกฎหมาย โดยการแก้ไปไขถ้อยคำในมาตรา 54 พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 ให้มีความชัดเจน ตลอดจนกำหนดขอบเขตการใช้อำนาจของเจ้าหน้าที่ในกระบวนพิจารณาชั้นขอให้พิจารณาใหม่ จะทำให้กระบวนพิจารณาชั้นขอให้พิจารณาใหม่มีประสิทธิภาพ และสามารถอำนวยความยุติธรรมให้แก่คู่กรณีผู้ตกอยู่ในบังคับของคำสั่งทางปกครองได้อย่างแท้จริง
dc.description.abstractalternativeThe present thesis aims to examine, technically and practically, the nature of problems involving the resumption of proceedings in the administrative procedure in Thailand. To this end, such the resumption of proceeding in foreign countries has been analytically compared. The research findings reveal critical problems in this matter, which are the followings. The main problem is unclear concept in applying to a state authority for reviewing and administrative order by means of resumption of proceedings, because the provision of article 54 of the Administrative Procedure Act, B.E. 2539 (1996) stipulating rules for the resumption of proceeding is ambiguous. As a result, the confusion in terms of the application of the law is occurred. The evidence showed in the case where there is the interpretation of the said provision in contrary to the intent of the law, which is to guarantee justice to people who are subjected to administrative orders. In this connection, the law provides for the right of an interested party to submit an application to the state authority concerned for reviewing administrative order made by him after such order becomes binding or final. Another problem is limited grounds for the application of the resumption of proceeding. Lastly, it is the problem concerning power of state authorities in making orders with regard to the procedures of such resumption of proceedings, which may affect the principle of certainty of the law and insufficient protection of people’s right and freedom. Therefore, the thesis suggests that rules of resumption of proceedings should revised to be in conformity with the intent of the law. Wording of article 54 of the Administrative Procedure Act, B.E. 2539 (1996) should accordingly be rewritten with an aim to better clarify the matter. In addition, scope of power to be exercised by state authorities in the procedure of the resumption of proceeding should be stipulated in order to increase efficiency of such procedure and to provide interested party and people under administrative orders for real justice.
dc.format.extent3541307 bytes
dc.format.extent2932101 bytes
dc.format.extent16693504 bytes
dc.format.extent15964621 bytes
dc.format.extent29557085 bytes
dc.format.extent4284413 bytes
dc.format.extent2430440 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการขอให้พิจารณาใหม่ในชั้นเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองen
dc.title.alternativeResumption of p in the administrative procedureen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Law - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kessuda_mu_front.pdf3.46 MBAdobe PDFView/Open
Kessuda_mu_ch1.pdf2.86 MBAdobe PDFView/Open
Kessuda_mu_ch2.pdf16.3 MBAdobe PDFView/Open
Kessuda_mu_ch3.pdf15.59 MBAdobe PDFView/Open
Kessuda_mu_ch4.pdf28.86 MBAdobe PDFView/Open
Kessuda_mu_ch5.pdf4.18 MBAdobe PDFView/Open
Kessuda_mu_back.pdf2.37 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.