Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26144
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นาวาโท ไตรวัฒน์วิรยศิริ | |
dc.contributor.advisor | ปรีชญา สิทธิพันธุ์ | |
dc.contributor.author | นลินทิพย์ โกศลานันต์ | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2012-11-26T07:40:46Z | |
dc.date.available | 2012-11-26T07:40:46Z | |
dc.date.issued | 2546 | |
dc.identifier.isbn | 9741742584 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26144 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 | en |
dc.description.abstract | ปัจจุบัน สถาปนิกได้ขยายบทบาท และขอบเขตการให้บริการวิชาชีพออกไปนอกเหนือจากงานออกแบบ ซึ่งสถาปนิกที่ปฏิบัติวิชาชีพสถาปัตยกรรมต่างๆ เหล่านั้น ได้ปฏิบัติหน้าที่ ในหลายบทบาท โดยยังขาดความรู้ และความเข้าใจในหน้าที่และความรับผิดชอบของตนตามกฎหมายที่ชัดเจน ทำให้เกิดปัญหาต่างๆ เป็นปลกระทบตามมา นอกจากนี้ ร่างกฎกระทรวงกำหนดหน้าที่ และความรับผิดชอบของผู้ออกแบบ ผู้ควบคุมงาน ผู้ดำเนินการ ผู้ครอบครองอาคารและเจ้าของอาคาร ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร พ.ศ. 2542 ในมาตรา 8(13) ที่เกี่ยวข้องกับสถาปนิกก็ยังกำหนดหน้าที่และความรับผิดชอบเพียงกว้างๆ ไม่ลงรายละเอียดในการปฏิบัติที่ชัดเจน ซึ่งจะสร้างความสับสนให้แก่สถาปนิกในการปฏิบัติวิชาชีพได้ การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาหน้าที่ และความรับผิดชอบของสถาปนิกบทบาทต่างๆ ในงานก่อสร้างกฎหมายที่เกี่ยวข้อง หลักปฏิบัติวิชาชีพ และการปฏิบัติวิชาชีพจริง เพื่อเป็นแนวทางการกำหนดหน้าที่ และความรับผิดชอบของสถาปนิกในงานก่อสร้างที่ชัดเจนภายใต้ร่างกฎหมายกระทรวงกำหนดหน้าที่ และความรับผิดชอบดังกล่าว การวิจัยนี้ดำเนินการวิจัยโดยศึกษาทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ การศึกษาเกี่ยวกับงานก่อสร้าง กฎหมายควบคุมอาคาร กฎหมายวิชาชีพ และหลักปฏิบัติวิชาชีพของสถาปนิก เพื่อสรุปหน้าที่และความรับผิดชอบของสถาปนิกในงานก่อสร้าง และนำไปใช้สัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างสถาปนิกซึ่งทำงานอยู่ในบริษัทสถาปนิก บริษัทผู้บริหารงานก่อสร้าง และบริษัทผู้รับเหมาก่อสร้างที่อยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล และยังคงปฏิบัติวิชาชีพอยู่ในเวลาที่ทำการวิจัย โดยแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ สถาปนิกของบริษัทสถาปนิก สถาปนิกของบริษัทผู้บริหารงานก่อสร้าง และสถาปนิกของบริษัทผู้รับเหมาก่อสร้าง แล้วนำข้อมูลทั้งหมดมาวิเคราะห์ และสรุปหน้าที่ และความรับผิดชอบของสถาปนิกในงานก่อสร้างภายใต้ร่างกฎหมายกระทรวงกำหนดหน้าที่และความรับผิดชอบดังกล่าว จากการศึกษา พบว่า หน้าที่และความรับผิดชอบของสถาปนิกในงานก่อสร้างมีทั้งกำหนดไว้ชัดเจน กำหนดไว้แต่ยังไม่ชัดเจน และยังไม่มีการกำหนดไว้ ซึ่งสถาปนิกผู้ออกแบบค่อนข้างมีความเข้าใจในหน้าที่ และความรับผิดชอบของตนเองชัดเจน โดยมีความเข้าใจเบี่ยงเบนไปจากหน้าที่และความรับผิดชอบที่ผู้วิจัยกำหนดไว้เพียงร้อยละ 18.75 ซึ่งเป็นหน้าที่ และความรับผิดชอบในช่วงระหว่างการก่อสร้าง สถาปนิกผู้ควบคุมงานแม้จะไม่มีความเข้าใจเบี่ยงเบนไปจากหน้าที่และความรับผิดชอบที่ผู้วิจัยกำหนด แต่พบว่ายังมีความสับสนในขนาดของงานก่อสร้างที่ควรปฏิบัติ ส่วนสถาปนิกผู้ดำเนินการยังขาดความเข้าใจในหน้าที่ และความรับผิดชอบของตนเอง โดยมีความเบี่ยงเบนไปถึงร้อยละ 40 ดังนั้น องค์กรวิชาชีพสถาปัตยกรรมจึงควรจัดทำคู่มือ หรือมาตรฐานการปฏิบัติวิชาชีพของสถาปนิกบทบาทต่างๆขึ้นมา เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติวิชาชีพของสถาปนิกที่ตรงกัน | |
dc.description.abstractalternative | Nowadays, architects can work in three organizations, architectural design firms, construction management firms, or contractor firms. For each organization, their roles and responsibilities are different Most architects still lack understanding of and agreement on their own roles and responsibilities, of which either they are not clear and/or they are not defined. In an attempt to clarify the roles and responsibilities of architects in each organization, a Draft Ministerial Regulation governing Roles and Responsibilities of Designer, Supervisor, Contractor, User, and Owner under Section 8(13) of Building Law of 1999 was proposed. However, those roles and responsibilities are vaques and not useful and applicable for the practice. The objective of this research was to clarify the roles and responsibilities of architects in construction stage. Three conceptual and theoretical frameworks are based. First the study of current practice of architects in each organization. Secondly, the laws related to the delineation of roles and responsibilities of architects. Thirdly, professional ethics and principles for architects according to the Association of Siamese Architects and three organizations: architectural firms, construction management firms, or contractor firms. The research methods used to accomplish such objectives are literature review and interview. Questionnaires were distributed to 3 groups of sample (scoped in the Bangkok and greater Bangkok areas): architects who work in architectural design firms, architects who work in construction management firms, and architects who work in contractor firms. The data was analyzed within the framework of a Draft Ministerial Regulation governing Roles and Responsibilities of Designer, Supervisor, Contractor, User, and Owner under Section 8(13) of Building Law of 1999 The findings are as follows: 1. Unaddressed roles and responsibilities in Building Law are identified in this thesis. 1.1 The architects of contractor firm are responsible for construction process and method planning leading to the desired output performance: supportive works are temporary and will be disassembled or dismantled, such as scaffold, sample rooms of an apartment. 2.Vague roles and responsibilities are clarified. 2.1The architects of architectural design firm are responsible for the output performance defining: approval and checking architectural shop drawing. 2.2The architects of construction management firm are responsible for the construction process inspecting and supervising leading to the desired output performance: architectural technique problem solving during construction. 3.The handbook or architectural practice standard for architects has to be set up by Council of Thai Architects. | |
dc.format.extent | 5398917 bytes | |
dc.format.extent | 2675136 bytes | |
dc.format.extent | 5560689 bytes | |
dc.format.extent | 11990500 bytes | |
dc.format.extent | 1603651 bytes | |
dc.format.extent | 30469051 bytes | |
dc.format.extent | 11972503 bytes | |
dc.format.extent | 19971431 bytes | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | การกำหนดหน้าที่ และความรับผิดชอบของสถาปนิกในงานก่อสร้าง | en |
dc.title.alternative | The roles and responsibilities of architects in construction | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | สถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | สถาปัตยกรรม | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Arch - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Nalinthip_ko_front.pdf | 5.27 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Nalinthip_ko_ch1.pdf | 2.61 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Nalinthip_ko_ch2.pdf | 5.43 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Nalinthip_ko_ch3.pdf | 11.71 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Nalinthip_ko_ch4.pdf | 1.57 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Nalinthip_ko_ch5.pdf | 29.75 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Nalinthip_ko_ch6.pdf | 11.69 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Nalinthip_ko_back.pdf | 19.5 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.