Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26364
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเกษรา ธัญลักษณ์ภาคย์-
dc.contributor.authorอาศิส ภมรานนท์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี-
dc.date.accessioned2012-11-27T06:13:38Z-
dc.date.available2012-11-27T06:13:38Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741743823-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26364-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractเนื่องจากมีงานวิจัยก่อนหน้านี้จำนวนมากได้ศึกษาและอภิปรายเกี่ยวกับ ผลของอัตราแลกเปลี่ยนที่ส่งผลต่อผลตอบแทนของอุตสาหกรรมในประเทศหนึ่งๆ ในวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ จะพยายามศึกษาให้ชัดเจนยิ่งขึ้น ถึงผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยน ต่อผลตอบแทนของอุตสาหกรรมในกลุ่มประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยใช้ข้อมูลจากประเทศในกลุ่มเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้งประเทศฮ่องกง และประเทศเกาหลี ที่มีการแบ่งข้อมูลของอุตสาหกรรมในรูปแบบเดียวกัน ระหว่างปี พ.ศ. 2533 ถึง พ.ศ. 2546 ซึ่ง วิทยานิพนธ์ฉบับนี้พบว่า ผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยนนั้น แทบไม่ได้ส่งผลอย่างมีนัยสำคัญต่ออุตสาหกรรมในกลุ่มประเทศที่ศึกษาเลย อย่างไรก็ตาม ผลจากอัตราแลกเปลี่ยนได้ส่งผลต่อผลตอบแทนของอุตสาหกรรมเพิ่มมากขึ้นจากอดีต นอกจากนั้น วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ ยังได้ทดสอบพบว่า ผลจากอัตราแลกเปลี่ยนส่งผลกับผลตอบแทน ของอุตสาหกรรม ในประเทศที่พัฒนาแล้ว (สิงคโปร์ และฮ่องกง) น้อยกว่าอุตสาหกรรมในประเทศที่กำลังพัฒนา (ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย)-
dc.description.abstractalternativeRecent researches have examined and argued the impact of exchange rate on industries return in their country. In this thesis we attempt to understand better to economic significance of exchange rate on industries return in south east asian markets. We utilize a unique dataset of industry indices from the south east asian market, Hong Kong and Korea during 1990 to 2003. It is found that weekly exchange rate shocks explain almost nothing of the performance of industries. However, the impact of exchange rate increase over time. Moreover, we also find that the impact is generally greater in industries in emerging markets (Thai, Indonesia, Malaysia) than industries in developed markets (Singapore and Hong Kong).-
dc.format.extent1754420 bytes-
dc.format.extent2014624 bytes-
dc.format.extent2592715 bytes-
dc.format.extent2548704 bytes-
dc.format.extent8590521 bytes-
dc.format.extent873930 bytes-
dc.format.extent1227701 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการทดสอบผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยนต่อผลตอบแทนของอุตสาหกรรมในประเทศไทย : หลักฐานในกลุ่มประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้en
dc.title.alternativeTesting for an effect of exchange rate on local industry return : evidence from south-east Asian marketsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการเงินes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Acctn - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Arsit_pa_front.pdf1.71 MBAdobe PDFView/Open
Arsit_pa_ch1.pdf1.97 MBAdobe PDFView/Open
Arsit_pa_ch2.pdf2.53 MBAdobe PDFView/Open
Arsit_pa_ch3.pdf2.49 MBAdobe PDFView/Open
Arsit_pa_ch4.pdf8.39 MBAdobe PDFView/Open
Arsit_pa_ch5.pdf853.45 kBAdobe PDFView/Open
Arsit_pa_back.pdf1.2 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.