Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26379
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประชุมสุข อาชวอำรุง-
dc.contributor.authorสุภาพร กิตติการอำพล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-11-27T06:34:21Z-
dc.date.available2012-11-27T06:34:21Z-
dc.date.issued2518-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26379-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2518en
dc.description.abstractความมุ่งหมายของการวิจัยนี้เพื่อประเมินผลงานการให้บริการการศึกษาภาคบังคับแก่ประชากรของประเทศไทย ด้วยการวิเคราะห์สถิติการศึกษาจากการสำรวจสำมะโนประชากร ค.ศ. 1970 ใช้ดัชนีทางการศึกษาสามค่า คือ เรโชการเข้าเรียน เรโชการมาเรียน และ เรโชประสิทธิภาพทางการศึกษา แยกออกเป็นระดับชาติ ภูมิภาค และจังหวัด แล้วเปรียบเทียบผลการวิเคราะห์หนี้กับผลการวิเคราะห์สถิติการศึกษา ปีสำมะโนประชากร 1960 ของ โฮล์มเกรน ได้ข้อค้นพบที่สำคัญ คือ 1. ในปี ค.ศ. 1970 อายุ 7 ปี เป็นแบบฉบับการเข้าโรงเรียนของประชากรส่วนใหญ่ อายุเฉลี่ยมีค่าเป็น 6.86 ซึ่งลดต่ำลงกว่าอายุเฉลี่ยในปี ค.ศ. 1960ประมาณหนึ่งปี 2. ประชากรที่เข้าเรียนในช่วงเวลา 30 ปีที่ผ่านมา ได้เพิ่มจำนวนขึ้นเรื่อยๆ จนอยู่ในระดับที่น่าพอใจ เรโชการเข้าเรียนทั่วราชอาณาจักรมีค่าสูงถึง 95.03% ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาพกลางมีประชากรเข้าเรียนสูงกว่าปกติ ขณะที่ภาคเหนือและภาคใต้ต่ำกว่าปกติ จังหวัดร้อยเอ็ดมีเด็กเข้าเรียนสูงสุด 99.19% และจังหวัดแม่ฮ่องสอนมีเด็กเข้าเรียนต่ำสุด 51.81% 3. นักเรียนที่มาเรียนจริงจนสำเร็จชั้นประถมปีที่ 4 ยังมีจำนวนน้อยไม่น่าพอใจนัก เรโชการมาเรียนทั่วราชอาณาจักรมีค่าเพียง 71.57% ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเท่านั้นที่มีนักเรียนมาเรียนจริงสูงกว่าปกติ เมื่อเปรียบเทียบระหว่างจังหวัดร้อยเอ็ดมีจำนวนนักเรียนมาเรียนจริงสูงสุด 90.96% แม่ฮ่องสอนและพระนครมีนักเรียนมาเรียนจริงต่ำสุดเพียง 36.06% และ 36.20% ตามลำดับ 4. เฉลี่ยทั่วราชอาณาจักร ประสิทธิภาพในการให้บริการการศึกษาแก่ผู้เข้าเรียนได้เรียนจนสำเร็จชั้นประถมปีที่ 4 มีค่าเพียง 75.32% ภาคตะวันออกเฉียงเหนือยังคงมีประสิทธิภาพดังกล่าวสูงกว่าปกติ จังหวัดร้อยเอ็ดมีประสิทธิภาพในการให้บริการการศึกษาสูงสุด 91.70% ขณะที่พระนครมีประสิทธิภาพต่ำสุดเพียง 37.36% 5. เมื่อเปรียบเทียบข้อค้นพบของโฮล์มเกรน ได้ข้อสรุปว่า ทุกจังหวัดมีเด็กเข้าเรียน มาเรียนจริง และประสิทธิภาพในการให้บริการการศึกษาสูงขึ้นกว่าสิบปี ที่แล้วทุกแง่ยกเว้นจังหวัดลพบุรีและอุทัยธานีที่มีเด็กเข้าเรียนเท่าเดิม-
dc.description.abstractalternativeAn education statistics analysis of the 1970 census was designed to evaluate the compulsory education program in Thailand, applying three educational indices: enrollment ratio, attendance ratio and educational efficiency ratio. Comparison among regions and changwats were also made as well as between those of population years 1970 and 1960 educational statistics of which was already analyzed by Holmgren. It was found that: 1. In 1970, typical age of entering schools is 7, average age is 6.86 years which is younger than those of the 1960 census for about one year. 2. School enrollment had steadily and satisfactorily progressed through the past thirty years. Nationwide enrollment was 95.03%. Northeastern and Central region of Thailand had higher Ratio than normal expectancy while the North and the South had lower. Children in Roi-et enter school, 99.19% which was the highest ratio and Maehongsorn lowest, 57.81%. 3. School attendance was unsatisfactory; the whole kingdom had attendance ratio as low as 71.57%, only Northeastern region had higher attendance ratio than normal expectancy. Comparison among changwats showed that Roi-et had highest attendance of 90.96% and Maehongsorn and Bangkok had lowest at 36.06% and 36.20% respectively. 4. The educational efficiency of the whole kingdom was 75.32%. The Northeastern region was again efficient than normal expectancy. Roi-et had highest efficiency, 91.70% while again Bangkok had lowest, 37.36%. 5. Comparison with Holmgren’s analysis of the 1960 census. lead to the conclusion that every changwat had progressed in both enrolling and holding school age population and also had higher efficiency, except for Lopburi and Uthai Thani which have unchangeable ratio of enrollment.-
dc.format.extent476637 bytes-
dc.format.extent495337 bytes-
dc.format.extent986515 bytes-
dc.format.extent521565 bytes-
dc.format.extent1323933 bytes-
dc.format.extent612289 bytes-
dc.format.extent597540 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการศึกษา -- สถิติ-
dc.subjectไทย -- ประชากร-
dc.titleการวิเคราะห์สถิติการเข้าเรียนของประชากรไทย ปีสำมะโนประชากร 1970en
dc.title.alternativeAn analysis of enrollment statistics of Thai population, cencus year 1970en
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิจัยการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Supaporn_Ki_front.pdf465.47 kBAdobe PDFView/Open
Supaporn_Ki_ch1.pdf483.73 kBAdobe PDFView/Open
Supaporn_Ki_ch2.pdf963.39 kBAdobe PDFView/Open
Supaporn_Ki_ch3.pdf509.34 kBAdobe PDFView/Open
Supaporn_Ki_ch4.pdf1.29 MBAdobe PDFView/Open
Supaporn_Ki_ch5.pdf597.94 kBAdobe PDFView/Open
Supaporn_Ki_back.pdf583.54 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.