Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26415
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เยาวดี วิบูลย์ศรี | - |
dc.contributor.author | สุภาพร ทินประภา | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2012-11-27T08:09:21Z | - |
dc.date.available | 2012-11-27T08:09:21Z | - |
dc.date.issued | 2526 | - |
dc.identifier.isbn | 9745623067 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26415 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2526 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคะแนนที่ได้จากการประเมินค่าของครูในองค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อการเรียน คะแนนที่ได้จากการสอบแบบสอบผลสัมฤทธิ์ที่ครูสร้าง และคะแนนที่ได้จากการสอบแบบผลสัมฤทธิ์มาตรฐาน พร้อมทั้งสร้างสมการทำนายผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเมื่อให้คะแนนจากแบบสอบมาตรฐานเป็นเกณฑ์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือนักเรียนชั้นมัธยมปีที่ 3 ของโรงเรียนในเขตกรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นโรงเรียนที่สังกัดอยู่ในกลุ่มการศึกษากลุ่มที่ 2 จำนวนทั้งสิ้น 514 คน และครูที่สอนนักเรียนดังกล่าว จำนวน 12 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบรายการประเมินค่าของครู แบบสอบผลสัมฤทธิ์ที่ครูสร้างวิชาคณิตศาสตร์ และแบบสอบผลสัมฤทธิ์มาตรฐานวิชาคณิตศาสตร์ของกรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีการคำนวณค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เฉพาะส่วน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณและการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบเพิ่มตัวแปรทีละตัว ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1.ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรแต่ละคู่ที่มีความสัมพันธ์กันทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 คือตัวแปรระหว่าง ก.คะแนนที่ได้จากการประเมินค่าของครูฯ กับคะแนนที่ได้จากการสอบแบบสอบผลสัมฤทธิ์ที่ครูสร้าง ข.คะแนนที่ได้จากการประเมินค่าของครูฯ กับคะแนนที่ได้จากการสอบแบบสอบผลสัมฤทธิ์มาตรฐาน ค.คะแนนที่ได้จากการสอบแบบสอบผลสัมฤทธิ์ที่ครูสร้างกับคะแนนที่ได้จากการสอบแบบสอบผลสัมฤทธิ์มาตรฐาน 2.ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เฉพาะส่วนระหว่างตัวแปรที่มีความสัมพันธ์กันทางบวก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 คือตัวแปรระหว่าง ก.คะแนนที่ได้จากการประเมินค่าของครูฯ กับคะแนนที่ได้จากการสอบแบบสอบผลสัมฤทธิ์มาตรฐาน เมื่อให้คะแนนที่ได้จากการสอบแบบสอบผลสัมฤทธิ์ที่ครูสร้างเป็นค่าคงที่ ข.คะแนนที่ได้จากการสอบแบบสอบผลสัมฤทธิ์ที่ครูสร้างกับคะแนนที่ได้จากการสอบแบบสอบผลสัมฤทธิ์มาตรฐาน เมื่อให้คะแนนที่ได้จากการประเมินค่าของครูฯ เป็นค่าคงที่ 3. ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณระหว่างตัวแปรที่มีความสัมพันธ์กันทางบวก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 คือ คะแนนที่ได้จากการประเมินค่าของครูฯ คะแนนที่ได้จากการสอบแบบสอบผลสัมฤทธิ์ที่ครูสร้าง กับคะแนนที่ได้จากการสอบแบบสอบผลสัมฤทธิ์มาตรฐาน 4.กลุ่มตัวทำนายผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อให้คะแนนที่ได้จากการสอบแบบสอบมาตรฐานเป็นเกณฑ์ ได้แก่ คะแนนที่ได้จากการสอบแบบสอบผลสัมฤทธิ์ที่ครูสร้าง กับคะแนนที่ได้จากการประเมินค่าของครูฯ โดยมีสมการทำนายในรูปคะแนนมาตรฐานและคะแนนดิบดังนี้ Z = .5891z₂ + .2531z₁ Y = 1.5191 + .6808x₂ + .3438x₁ | - |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this study were: (a) to study the relationship among scores from teacher’s rating based on factors affected learning outcomes, scores from teacher made achievement test and scores from standardized achievement test; (b) to construct the multiple regression equation for predicting the students’ academic achievement when using the scores from standardized test as a criterion. The sample were 514 Mathayom III students randomly drawn from some schools within Educational Group II of Bangkok Metropolis and including their 12 teachers. The instruments used for collecting data were Teacher’s Rating Form, Teacher Made Achievement Test in Mathematics and Standardized Achievement Test in Mathematics from Educational Technique Department, Ministry of Education. The data were analyzed by using Pearson’s Product Moment Correlation, Partial Correlation, Multiple Correlation and Stepwise Multiple Regression. The findings of this research were as follows: (1) There was significant positive correlation at the .01 level between each pair of the following variables: (a) scores from teacher’s rating based on factors affected learning outcomes and scores from teacher made achievement test. (b) scores from teacher’s rating based on factors affected learning outcomes and scores from standardized achievement test. (c) scores from teacher made achievement test and scores from standardized achievement test. (2) There was significant positive partial correlation at the .01 level among the following variables: (a) scores from teacher’s rating based on factors affected learning outcomes and scores from standardized achievement test when the scores from teacher made achievement test was constant. (b) scores from teacher made achievement test and scores from standardized achievement test when the scores from teacher’s rating based on factors affected learning outcomes was constant (3) There was significant positive multiple correlation at the .01 level among scores from teacher’s rating based on factors affected learning outcomes, scores from teacher made achievement test and scores from standardized achievement test. (4) The significant predictors of student’s achievement at the .05 level when using the scores from standardized test as a criterion were scores from teacher made achievement test and scores from teacher’s rating based on factor affected learning outcomes. The multiple regression equation in the forms of standard scores and row scores could be Z = . 5891z₂ + .2531z₁ Y = 1.5191 + .6808x₂ + .3438x₁ | - |
dc.format.extent | 459124 bytes | - |
dc.format.extent | 485298 bytes | - |
dc.format.extent | 1016184 bytes | - |
dc.format.extent | 515972 bytes | - |
dc.format.extent | 595170 bytes | - |
dc.format.extent | 515968 bytes | - |
dc.format.extent | 697543 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคะแนนพฤติกรรมการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ที่ครูเป็นผู้ประเมินค่าจากองค์ประกอบ ซึ่งมีอิทธิพลต่อผลการเรียน กับคะแนนที่ได้จากแบบสอบผลสัมฤทธิ์ที่ครูสร้าง และแบบสอบผลสัมฤทธิ์มาตรฐาน | en |
dc.title.alternative | A study of relationships between scores of learning behaviors in mathematics obtained from teacher's rating based on factors affected learning outcomes and those from teacher made achievement tests and standardized achievement tests | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิจัยการศึกษา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Supaporn_Ti_front.pdf | 448.36 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Supaporn_Ti_ch1.pdf | 473.92 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Supaporn_Ti_ch2.pdf | 992.37 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Supaporn_Ti_ch3.pdf | 503.88 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Supaporn_Ti_ch4.pdf | 581.22 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Supaporn_Ti_ch5.pdf | 503.88 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Supaporn_Ti_back.pdf | 681.19 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.