Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26458
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ณรงค์ โฉมเฉลา | |
dc.contributor.author | สุรีย์ ทิพากร | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.บัณฑิตวิทยาลัย | |
dc.date.accessioned | 2012-11-27T16:28:20Z | |
dc.date.available | 2012-11-27T16:28:20Z | |
dc.date.issued | 2526 | |
dc.identifier.isbn | 9745623504 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26458 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (บช.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2526 | en |
dc.description.abstract | ถั่วพูเป็นพืชพื้นบ้านที่คนไทยรู้จักดี โดยการนำผักอ่อนมารับประทาน ภายหลังที่ได้พบว่าถั่วพูมีความสามารถในการตรึงธาตุไนโตรเจนจากอากาศโดยแบคทีเรียปมรากถั่ว ซึ่งมีความดีเด่นเหนือพืชตระกูลถั่วอื่นๆ ดัวยเหตุนี้ถั่วพูจึงมีคุณค่าทางอาหาร โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านอาหารโปรตีน ซึ่งเป็นอาหารประเภทที่มักจะขาดแคลนอยู่เสมอ ในเขตร้อนที่ชุ่มชื้นซึ่งเหมาะสมสำหรับการปลูกถั่วพู ถั่วพูจึงเป็นพืชที่นำส่งเสริมให้มีการปลูกเป็นการค้า วิทยานิพนธ์เรื่องนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษาถึงต้นทุนการปลูกถั่วพู ตั้งแต่การปลูกจนกระทั่งเก็บเกี่ยวได้ โดยเลือกทำการศึกษาที่อำเภอจันทึก จังหวัดนครราชสีมา เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2522 ถึง 2524 การศึกษาได้รวบรวมข้อมูลจากแปลงทดลองขยายพันธุ์ที่อำเภอจันทึกตลอดจนเอกสารและหนังสือต่างๆ ที่เกี่ยวกับถั่วพู ผลการศึกษาพบว่าต้นทุนต่อไร่ของการปลูกถั่วพูในปี 2522 2523 และ 2524 คิดเป็นเงิน 2,334, 2,650 และ 3,117 บาทตามลำดับต้นทุนเฉลี่ยต่อไร่เท่ากับ 2,776 บาทค่าใช้จ่ายส่วนมาใช้ในการจ้างแรงงาน ซึ่งเฉลี่ยประมาณร้อยละ 52.52 ของต้นทุนทั้งหมด และผลผลิตต่อไร่เท่ากับ 85 กิโลกรัมในปี 2522, 61 กิโลกรัมในปี 2523 และ 79 กิโลกรัมในปี 2524 ผลผลิตเฉลี่ยเท่ากับ 73 กิโลกรัม การที่ได้ผลผลิตต่อไร่แต่ละปีต่ำอาจจะเนื่องมาจาการใช้เมล็ดพันธุ์ไม่เหมาะสม ดินฟ้าอากาศไม่เหมาะสมและขาดการปฏิบัติดูแลรักษาที่ดี ในการทดลองปลูกถั่วพูในแปลงทดลองขยายพันธุ์ ประสบปัญหาหลายประการ คือ ปัญหาในการปลูกถั่วพู เนื่องจากคนงานขาดประสบการณ์ ปัญหาเกี่ยวกับต้นทุนการปลูกถั่วพู และปัญหาทางด้านการตลาด ปัญหาต่างๆ เหล่านี้ต้องอาศัยความร่วมมือจากผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายทั้งภาครัฐบาลและภาคเอกชน ในการช่วยกันแก้ไขปัญหา ซึ่งผู้เขียนได้เสนอข้อเสนอแนะบางประการเพื่อใช้เป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาเหล่านั้น ดังนี้คือ 1. ควรมีการศึกษาและวิจัยเกี่ยวกับพันธุ์ถั่วพูว่า พันธุ์ใดให้ผลผลิตสูงของเมล็ดแก่ หรือหัว หรือทั้งสองอย่าง ที่สามารถปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมต่างๆ เช่น ในไร่ ในนา บนร่องสวน บนดอย ฯลฯ 2. พยายามปรับปรุงพันธุ์เพื่อให้ได้ลักษณะต้นเตี้ยไม่ต้องอาศัยค้างเพื่อที่จะได้นำไปปลูกแบบพืชไร่ทั่วๆไป 3. ควรที่จะขยายตลาดของถั่วพูให้กว้างขวางยิ่งขึ้นโดยเฉพาะการปลูกเพื่อนำเมล็ดแก่ไปใช้ในอุตสาหกรรมน้ำมันพืชซึ่งปัจจุบันมักจะมีปัญหาเกี่ยวกับวัตถุดิบที่จะป้อนโรงงานขาดแคลน นอกจากนี้กากที่ได้หลังจกาสกันน้ำมันแล้วจะสามารถระบายไปสู่อุตสาหกรรมอาหารสัตว์ได้อีกด้วย ผู้เขียนเชื่อว่า ผลจากการวิจัยในวิทยานิพนธ์เล่มนี้สามารถนำไปใช้ในการประกอบการพิจารณาตัดสินใจสำหรับผู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น ผู้ที่จะลงทุนในการปลูกถั่วพูเป็นการ ค้าผู้ที่ปลูกถั่วพูรวมทั้งหน่วยงานวิจัยและการส่งเสริมการเกษตรด้วย | |
dc.description.abstractalternative | Winged bean is one of the well-known plants in Thailand Normally, its young pods are used as food, Later, it is found that winged bean possesses a special property in fixing nitrogen from the atmosphere by bacteria in its nodules which outyield other legumes. Hence, winged bean is nutritionally worthy, particularly enriched with protein which is always lacking in the tropical zone, the area that best suits the growing of winged bean, thus, this kind of bean should be encouraged to be grown for commercial purpose. The main objective of this thesis is to study the total cost of winged bean planting, starting from growing until harvest, The author selected to make the study at Amphoe Chan Thuk, Changwat Nakhon Ratchasima during 1979-81. Data have been accumulated from the experimental plots at Chan Thuk, including documents and books related to the winged bean. It is found that the annual growing costs pre rai in 1979-81 amounted to Baht 2,334, 2,650, and 3,117, respectively. The total average cost per rai was Baht 2,776. Most of the expenses were on labour which averaged approximately 52.52% of the total cost. The yield per rai was 85, 61, and 79 Kilograms, in 1979-81, respectively making an average yield of 73 Kilograms. Such a low yield per rai in each year may due to the improper use of seed, as well as unsuitable climatic factors and cultivation practices. Experimenting at the plots faced a lot of problems, such as lack of skill and know-how among the labourers, high cost of investment and market distribution. To solve these problems, close cooperations among all concerned sectors, both government and private, are need, the followings are some recommendations and solutions to the problems; 1. Intensive research on the winged bean varsities should be made to find out the variety that gives highest yield of mature seed, or tuber, or both, which can adapt itself to the various environment, such as in the field in the paddy on the dike and high land, etc. 2. Improvement of the varieties should be developed to obtain bushy form of plant in order to lessen the need of stakes, and to be planted as ordinary field crops. 3. Market expansion of winged bean should be promoted especially in regard to the supply of mature seeds for the vegetable oil industry, which, at the moment in facing the shortage of raw material supply. Besides, the seed cake, the by-product of vegetable oil extraction, can also be supplied to the animal feed industry. Finally, the author believes that the findings of this thesis will be beneficial to the agricultural circle, especially to those who are prepared to plant winged bean for commercial purpose, as well as the private sector and the government authorities concerned. | |
dc.format.extent | 435888 bytes | |
dc.format.extent | 294131 bytes | |
dc.format.extent | 668891 bytes | |
dc.format.extent | 449094 bytes | |
dc.format.extent | 1148691 bytes | |
dc.format.extent | 408435 bytes | |
dc.format.extent | 243532 bytes | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | ปัญหาและต้นทุนการปลูกถั่วพู | en |
dc.title.alternative | Problem in and cost of cultivation of winged bean | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | บัญชีมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | การบัญชี | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Suree_Th_front.pdf | 425.67 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Suree_Th_ch1.pdf | 287.24 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Suree_Th_ch2.pdf | 653.21 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Suree_Th_ch3.pdf | 438.57 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Suree_Th_ch4.pdf | 1.12 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suree_Th_ch5.pdf | 398.86 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Suree_Th_back.pdf | 237.82 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.