Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26507
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวีระพงษ์ บุญโญภาส
dc.contributor.advisorวันชัย รุจนวงศ์
dc.contributor.authorปรีดา นันท์ดี
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์
dc.date.accessioned2012-11-28T03:05:35Z
dc.date.available2012-11-28T03:05:35Z
dc.date.issued2546
dc.identifier.isbn9741749074
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26507
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.) --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อจะศึกษาถึงบทบัญญัติต่างๆ ที่มีอยู่ในกฎหมายไทยว่ามีความครอบคลุมถึงความผิดฐานขัดขวางกระบวนการยุติธรรมในอนุสัญญาสหประชาชาติเพื่อการต่อต้านองค์กรอาชญากรรมข้ามชาติ ค.ศ. 2000 ที่ประเทศไทยได้ลงนามเป็นภาคีแล้วหรือไม่ และหากจะมีการพัฒนากฎหมายของประเทศไทยเพื่อให้มีผลใช้บังคับในทางปฏิบัติได้จริงและสอดคล้องกับอนุสัญญาฯ ฉบับดังกล่าว การนำกฎหมายของสหรัฐอเมริกาและประเทศฝรั่งเศสมาพิจารณาประกอบเพื่อปรังปรุงกฎหมายของประเทศไทยจะมีความเหมาะสมและเพียงพอหรือไม่เพียงใด ผลจากการศึกษาวิจัยพบว่า กฎหมายของไทยที่มีอยู่ไม่ว่าจะเป็นประมวลกฎหมายอาญาหรือในรูปกฎหมายพิเศษ ก็ยังบัญญัติครอบคลุมไปไม่ถึงการกระทำความผิดฐานนี้ ดังนั้นจึงต้องอาศัยบทบัญญัติใกล้เคียงมาปรับใช้ ซึ่งไม่เพียงพอ จึงส่งผลให้มีการคุกคามหรือใช้อิทธิพลข่มขู่พยานหรือผู้เสียหายเพื่อให้เกิดความกลัวและไม่มาเบิกความ ทำให้ผู้กระทำความผิดมักจะได้รับการปล่อยตัวไป มิใช่ฟังไม่ได้ว่าไม่ได้กระทำความผิด รวมทั้งการแทรกแซงการปฏิบัติงานของเจ้าพนักงานโดยใช้อำนาจมิชอบเพื่อให้ได้รับความได้เปรียบในกระบวนการยุติธรรม นอกจากนั้นมาตรการทางกฎหมายที่มีอยู่ไม่ว่าจะเป็นกฎหมายคุ้มครองพยาน การสืบพยานล่วงหน้า หรือการออกหมายจับ ฯลฯ แม้จะนำมาใช้บังคับได้ แต่ก็ไม่ใช่ฐานความผิดทางอาญา ปัจจุบันปัญหาในการปราบปรามองค์กรอาชญากรรมข้ามชาติทำให้หลายประเทศต้องเพิ่มมาตรการเพื่อคุ้มครองกระบวนการยุติธรรมให้ดำเนินไปโดยชอบด้วยกฎหมาย ผู้วิจัยเสนอให้มีการพัฒนากฎหมายในความผิดฐานนี้โดยปรับปรุงแก้ไขในประมวลกฎหมายอาญา ซึ่งจะสามารถใช้บังคับได้ทั่วไปไม่ว่าจะเป็นการกระทำของบุคคลธรรมดาหรือในรูปองค์กรอาชญากรรม และยังสอดคล้องกับอนุสัญญาฯ อีกด้วย ทั้งนี้ โดยนำหลักกฎหมายของสหรัฐอเมริกาและประเทศฝรั่งเศสมาพิจารณาประกอบ เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนากฎหมายของไทยให้เหมาะสม
dc.description.abstractalternativeThis thesis aims at the study of Thai statutes whether they cover the Obstruction of Justice and at the suitability in adapting U.S. and French laws within Thai context. This is due to the ratification of Thailand in the United Nations convention against transnation organized crime 2000 with which Thailand shall comply by enforcing her domestic laws. The result reveals both Criminal Codes and Special Act of Thailand do not include yet this criminal offence; hence, the comparable legislatures are applied mutatis mutandis. This is inadequate to solve the situation. Many problems are emerged subsequently, for example, the intimidation or coercion of witnesses or victims to hinder its presence in court and also the intervention in official operation with illegal influence for any advantage in justice procedures. The offenders are released since their guilty cannot be proved. There exists, though, Witness Protection Act, the authority to direct the investigation of witness in advance or to issue the warrant of arrest, all of them are not based on the criminal offences. Due to the problem of transnation organized crime suppression, many countries make their effort in enhancing different measures to maintain the fairness of justice procedures. l, therefore, recommend the augment of Obstruction of Justice in the Penal Code. This would benefit not only in combating criminal activities of both natural person and organized criminal group but also in conforming to said convention. In this case, the U.S. and French laws should be considered as the model in improving Thai legislature accordingly.
dc.format.extent2792863 bytes
dc.format.extent3664603 bytes
dc.format.extent26064665 bytes
dc.format.extent30011685 bytes
dc.format.extent14405359 bytes
dc.format.extent3173733 bytes
dc.format.extent2488639 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleกฎหมายขัดขวางกระบวนการยุติธรรม : ศึกษากรณีการพัฒนากฎหมายไทยให้สอดคล้องกับอนุสัญญาสหประชาชาติเพื่อการต่อต้านองค์กรอาชญากรรมข้ามชาติ ค.ศ. 2000en
dc.title.alternativeObstruction of Justice : A study of The development of Thai law in complaiance with united nations convention against Transnation organized crime 2000en
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Law - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Preeda_nu_front.pdf2.73 MBAdobe PDFView/Open
Preeda_nu_ch1.pdf3.58 MBAdobe PDFView/Open
Preeda_nu_ch2.pdf25.45 MBAdobe PDFView/Open
Preeda_nu_ch3.pdf29.31 MBAdobe PDFView/Open
Preeda_nu_ch4.pdf14.07 MBAdobe PDFView/Open
Preeda_nu_ch5.pdf3.1 MBAdobe PDFView/Open
Preeda_nu_back.pdf2.43 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.