Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26512
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุเนตร ชุตินธรานนท์ | - |
dc.contributor.advisor | ธิดา สาระยา | - |
dc.contributor.author | กนิษฐา ชิตช่าง | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2012-11-28T03:10:46Z | - |
dc.date.available | 2012-11-28T03:10:46Z | - |
dc.date.issued | 2547 | - |
dc.identifier.isbn | 9741770707 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26512 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (อ.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 | en |
dc.description.abstract | ศึกษาถึงความเป็นมาของสิทธิในการใช้ประโยชน์และเป็นเจ้าของที่ดินของราษฎรไทย ในเขตพื้นที่ราบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาตอนล่าง ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ กรุงเทพฯ นนทบุรี อยุธยา สระบุรี ลพบุรี อ่างทอง สิงห์บุรี ปทุมธานี นครนายก สมุทรปราการ นครปฐม ราชบุรี ซึ่งจากการศึกษาพบว่า ราษฎรไทยในเขตพื้นที่นี้ในอดีตนับตั้งแต่สมัยอยุธยาเป็นอย่างน้อยจนถึงช่วงก่อนการประกาศใช้ ประกาศออกโฉนดที่ดิน ร.ศ. 120 (พ.ศ. 2444) เคยมีสิทธิในการใช้ประโยชน์และเป็นเจ้าของที่ดินโดยพฤตินัยที่เรียกว่าสิทธิเหนือที่ดิน และวางอยู่บนหลักการการทำประโยชน์ในที่ดินจนเกิดกรรมสิทธิ์ขึ้น โดยราษฎรจะมีอำนาจอิสระในการเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ในที่ดินโดยไม่ต้องซื้อ เพียงแต่ต้องแบ่งผลประโยชน์ให้กับรัฐตามพันธะสัญญาในรูปภาษีอากร ทำให้สิทธิดังกล่าวยังคงมีความผูกพันกับระบบมูลนายไพร่ เนื่องจากราษฎรทั้งหลายต้องขึ้นทะเบียนเป็นไพร่ มีสังกัดมูลนายและมูลนายเป็นผู้รวบรวมบรรดาผลประโยชน์ ที่เป็นส่วนแบ่งจากราษฎรเพื่อนำเข้าสู่รัฐอีกทอดหนึ่งครั้นเมื่อพฤติกรรมการทำประโยชน์ในที่ดินขยายตัว มาสู่การปลูกพืชเศรษฐกิจอย่างกว้างขวางซึ่งรวมถึงการปลูกข้าวด้วย ได้ส่งผลอย่างมากที่ทำให้ที่ดินมีมูลค่าเป็นตัวเงิน อันนำมาสู่การที่รัฐจะให้ความสนใจกับการครอบครองที่ดินแทนการควบคุมกำลังคน การที่ที่ดินมีมูลค่าเป็นตัวเงินและมีค่าดุจเดียวกับทรัพย์ ทำให้รัฐต้องการควบคุมที่ดินโดยตรงผ่านมาตรการต่างๆ ได้แก่ การควบคุมที่ดินผ่านชุมชนชาวต่างถิ่น และระบบเจ้าภาษีนายอากร ในสมัยรัชกาลที่ 2-3 และการควบคุมด้วยกลไกทางกฎหมายในช่วงรัชกาลที่ 4-6 อันเป็นขั้นตอนสุดท้ายของการควบคุมระบบกรรมสิทธิ์ที่ดินอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร แต่ถึงแม้รัฐจะมีวิธีการจัดระบบกรรมสิทธิ์ที่ดินที่เป็นลายลักษณ์อักษร แต่ผลลัพธ์ที่ออกมา รัฐก็ยังคงคำนึงถึงหลักการเรื่องของการทำประโยชน์จนเกิดกรรมสิทธิ์ขึ้น โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่สังคมไทยกำลังก้าวสู่ความทันสมัย พ.ศ. 2444-2468 อันเป็นช่วงเวลาที่วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ศึกษา | - |
dc.description.abstractalternative | To study the rights of Thai people to land use and land ownership in the area of the Lower Chaophraya Basin, an area including the provinces of Bangkok, Nonthaburi, Ayutthaya, Saraburi, Lopburi, Ang Thong, Singburi, Pathum Thani, Nakhon Nayok, Samutprakan, Nakhon Pathom, and Ratchaburi. Thai people in this area had de facto rights to land use and land ownership from the Ayutthaya period down to the Ratanakosin period before the enforcement of the law on land registration of R.S.120 (1901). This was because these rights were based on the principle that working the land gave a person rights to ownership without having to purchase the piece of land concerned. But these people would have to share the benefits from the land with the state through payment of taxes. At the same time, Thai people’s rights to land use and land ownership also depended upon the structure of the manpower control (or munnai-phrai) system. When the circumstances of land use changed, because of increased growing of cash crops, especially rice, the value of land rose in economic and monetary terms. This led to the state becoming more concerned with issues of land ownership rather than manpower control. The monetary value of land made it an economic asset. The state tried to control the land directly in many ways, such as through direct control over ethnic groups, reform of the taxation system (tax farming), and finally the passing of the law on land registration. Although the state tried to reform the practice of land use and land ownership, emphasising the legality of documents, especially between 1901 and 1925, the modernising period studied in this thesis, it still paid heed to the age-old principles of land use leading to ownership rights. | - |
dc.format.extent | 2874068 bytes | - |
dc.format.extent | 14466945 bytes | - |
dc.format.extent | 13820390 bytes | - |
dc.format.extent | 13808166 bytes | - |
dc.format.extent | 21116848 bytes | - |
dc.format.extent | 6803351 bytes | - |
dc.format.extent | 2386021 bytes | - |
dc.format.extent | 6596281 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | สิทธิของราษฎรไทยในการใช้ประโยชน์และเป็นเจ้าของที่ดิน พ.ศ. 2444-2468 : ศึกษากรณีที่ราบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาตอนล่าง | en |
dc.title.alternative | The rights of Thai people to land use and land ownership 1901-1925 : a case study of the lower Chaophraya basin | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | es |
dc.degree.discipline | ประวัติศาสตร์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Arts - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Kanitha_ch_front.pdf | 2.81 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Kanitha_ch_ch1.pdf | 14.13 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Kanitha_ch_ch2.pdf | 13.5 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Kanitha_ch_ch3.pdf | 13.48 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Kanitha_ch_ch4.pdf | 20.62 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Kanitha_ch_ch5.pdf | 6.64 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Kanitha_ch_ch6.pdf | 2.33 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Kanitha_ch_back.pdf | 6.44 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.