Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26578
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมชนก ภาสกรจรัส | - |
dc.contributor.author | อาริษา ปาน้อยนนท์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี | - |
dc.date.accessioned | 2012-11-28T07:00:29Z | - |
dc.date.available | 2012-11-28T07:00:29Z | - |
dc.date.issued | 2554 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26578 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (บธ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554 | en |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้เพื่อศึกษาถึงอิทธิพลของข้อได้ เปรียบจากการเป็นเจ้าของต่อแนวโน้มการลงทุนทางตรงในต่างประเทศของอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มในประเทศไทย ข้อได้เปรียบจากการเป็น เจ้าของ หมายถึง ปัจจัยต่างๆ ที่ทำให้บริษัทมีความสามารถในการแข่งขัน เหนือกว่าบริษัทอื่นๆ โดยข้อได้เปรียบจากการเป็นเจ้าของในอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มนั้น ได้แก่ ความได้เปรียบจากการเป็นเจ้าของเงินทุน เทคโนโลยี ความสามารถในการจัดการ ส่วนที่เหลือจากการวิจัยและพัฒนารวมถึงความสามารถอื่นๆการประหยัดต่อขนาด ตราสินค้า และความสามารถในการเข้าถึงตลาด โดยการศึกษาครั้งนี้ผู้วิจัยได้พัฒนาตัวแบบของการวิจัยให้มีความเหมาะสมกับอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มใน ประเทศไทย วิธีการเก็บข้อมูลจะใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัยรวมทั้งการรวบรวมข้อมูลทางการเงินของบริษัท และนำมาวิเคราะห์ด้วยการวิเคราะห์ความถดถอยโลจิสติค (Logistic Regression) ผลจากการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า มีบริษัทในอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มที่จะลงทุนทางตรงในต่างประเทศคิดเป็น 67% ในขณะที่อีก 33% ยังไม่มีแผนจะลงทุนทางตรงในต่างประเทศ โดยประเทศที่บริษัทสนใจจะไปลงทุนทางตรงมากที่สุดได้แก่ เวียดนาม และกัมพูชา คิดเป็น 28.26% และ 26.10% ตามลำดับ ทั้งนี้การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวแบบงานวิจัยสามารถสรุปได้ว่า ความสามารถในการจัดการและความสามารถในการเข้าถึงตลาด เป็นข้อได้เปรียบจากการเป็นเจ้าของที่มีอิทธิพลต่อแนวโน้มการลงทุนทางตรงในต่างประเทศ | en |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this study is to analyze ownership advantage, which influences tendency of outward foreign direct investment (Outward FDI) of garment industry of Thailand. Reviews of literature have shown ownership advantage of garment industry including capital, technology, managerial capabilities, surplus R&D and other capacity, trademark and market accessibility, but garment industry of Thailand is different. The research framework is developed by depth interview. This research collected the data by using questionnaires, which sent to executive of companies in garment industry, and the hypotheses of this research were tested by using Logistic Regression. The results are 67% of garment companies plan to invest aboard. Vietnam and Cambodia are the most favorite countries to invest. Research results confirm the relationship between managerial capabilities and market accessibility, and tendency of outward foreign direct investment. | en |
dc.format.extent | 1528470 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1918 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | อุตสาหกรรมเสื้อผ้า | en |
dc.subject | การลงทุน | en |
dc.subject | การวิเคราะห์การลงทุน | en |
dc.title | การวิเคราะห์ข้อได้เปรียบจากการเป็นเจ้าของต่อแนวโน้มการลงทุนทางตรงในต่างประเทศของอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มไทย | en |
dc.title.alternative | Analysis of ownership advantage influencing tendency of outward foreign direct investment of Thai garment industry | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | บริหารธุรกิจ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2011.1918 | - |
Appears in Collections: | Acctn - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
aliza_pa.pdf | 1.49 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.