Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26623
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมานพ เรี่ยวเดชะ-
dc.contributor.authorปฐมชัย สุวรรณปิณฑะ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-11-28T08:42:54Z-
dc.date.available2012-11-28T08:42:54Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26623-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en
dc.description.abstractปัญหาการทำงานซ้ำที่สายการประกอบรถยนต์ของโรงงานกรณีศึกษา เกิดขึ้นกับรถที่ผ่านกระบวนการประกอบแล้วแต่ไม่ผ่านมาตรฐานการปรับตั้งมุมล้อจากการตรวจสอบ ส่งผลให้ต้องนำรถกลับเข้ามาปรับแก้ค่ามุมล้อใหม่อีกครั้ง การทำงานซ้ำที่เกิดขึ้นนี้ส่งผลให้ปริมาณงานของสถานีปรับตั้งมุมล้อเพิ่มมากขึ้น จนมักต้องทำงานล่วงเวลาเพื่อให้ยอดการผลิตบรรลุเป้าหมายที่วางเอาไว้ ซึ่งส่งผลให้ต้นทุนแรงงานสูงขึ้น และตัวพนักงานก็เกิดความเมื่อยล้าจากการปฏิบัติงานเป็นเวลานาน นอกจากนี้การที่กระบวนการปรับตั้งมุมล้อเป็นกระบวนการที่เป็นคอขวดในปัจจุบันของสายการผลิตจึงเป็นอุปสรรคต่อการเพิ่มกำลังการผลิตของสายงานการประกอบที่จะเกิดขึ้นในอนาคต แม้โรงงานกรณีศึกษาได้บันทึกข้อมูลประวัติการปรับตั้งมุมล้อของรถทุกคันไว้ในฐานข้อมูลของเครื่องปรับตั้ง แต่ก็ไม่ได้นำออกมาใช้ให้เกิดประโยชน์ งานวิจัยนี้จึงได้นำเอาข้อมูลเหล่านั้นมาวิเคราะห์ด้วยเทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลแบบหลายมิติเพื่อหาปัจจัยสาเหตุที่ทำให้การปรับตั้งมุมล้อเป็นปัญหา โดยการวิเคราะห์จะใช้การตั้งคำถามเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างปัญหาที่เกิดกับปัจจัยที่อาจเป็นสาเหตุของปัญหา เมื่อการวิเคราะห์พบสาเหตุที่แท้จริงของปัญหา จึงเสนอวิธีการแก้ไขที่มีประสิทธิผล หลังจากได้การดำเนินการตามวิธีที่นำเสนอเป็นระยะเวลา 2 เดือน พบว่าการทำงานซ้ำของกระบวนการปรับตั้งมุมล้อรถยนต์ลดลงจากร้อยละ 4.99 เหลือร้อยละ 3.90en
dc.description.abstractalternativeThe problems of reworks in the car assembly process of the case study plant occurred when cars that had completed the assembly process did not pass the quality inspection standards of the wheel alignment process and needed rework. Reworking increased the workload of the wheel alignment process. This often caused overtime work in order to meet production targets. Over-time work added production cost and exhausted workers. Since the wheel alignment process was already the bottleneck of the assembly line, it would also be a restriction when the company would try to increase its production capacity in the future. Although, the company collected wheel alignment data of every car, it did not make any use of it. This research attempted to analyze the data with multi-dimensional data model in order to find the causes of the wheel alignment problems. The analysis asked questions on relationships between problems and factors that might cause them. When the analysis revealed the real causes of the problems, effective solutions were proposed. After implementing the proposed solutions for two months, it was found that the reworks of the wheel alignment process reduced significantly from 4.99 percent to 3.9 percent.en
dc.format.extent1518437 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1919-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectรถยนต์ -- ล้อen
dc.subjectระบบสนับสนุนการตัดสินใจen
dc.subjectเทคโนโลยีโอแลปen
dc.titleการวิเคราะห์ข้อมูลแบบหลายมิติเพื่อหาสาเหตุการทำงานซ้ำของกระบวนการปรับตั้งมุมล้อรถยนต์en
dc.title.alternativeMulti-dimensional data analysis for causes of rework in wheel alignment processen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.1919-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
pathomchai_su.pdf1.48 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.