Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26705
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เกียรติ จิวะกุล | - |
dc.contributor.author | สาโรจน์ วิเศษ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2012-11-28T10:33:59Z | - |
dc.date.available | 2012-11-28T10:33:59Z | - |
dc.date.issued | 2524 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26705 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ผ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2524 | en |
dc.description.abstract | จังหวัดสุราษฎร์ธานีเป็นจังหวัดปิดมานานเนื่องจากในอดีตติดต่อกับจังหวัดอื่น ๆ ในภาคใต้ได้โดยทางรถไฟแต่เพียงทางเดียว เพิ่งมีทางรถยนต์ติดต่อกับจังหวัดอื่น ๆ ได้ในปี 2521 จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีพื้นที่มากที่สุดในภาคใต้ มีพื้นที่ 13,802.14 ตารางกิโลเมตร ในปี 2520 มีความหนาแน่นประชากร 41 คนต่อตารางกิโลเมตร ในขณะที่ความหนาแน่นถัวเฉลี่ยของภาคใต้ 77 คนต่อตารางกิโลเมตร ซึ่งความหนาแน่นประชากรของจังหวัดสุราศฎร์ธานียังต่ำกว่าค่าความหนาแน่นเฉลี่ยของภาคอยู่มาก นอกจากนี้ยังเป็นจังหวัดที่มีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ เช่น ป่าไม้ แหล่งแร่ แหล่งประมง และแหล่งท่องเที่ยว ด้วยเหตุนี้จึงคาดว่าจะมีจำนวนประชากรอพยพเข้ามากยิ่งขึ้นเนื่องจากเส้นทางคมนาคมและความอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่ จึงได้ศึกษาเพื่อใช้วางแผนในการรับจำนวนประชากรโดยเฉพาะการประกอบอาชีพในด้านกสิกรรมว่าควรจะมีประชากรเท่าใดที่ความจุของพื้นที่สามารถรับได้ โดยให้มีความสอดคล้องและสมดุลย์กันระหว่างทรัพยากรธรรมชาติ และจำนวนประชากรในพื้นที่ จึงแยกวัตถุประสงค์ออกได้เป็น 2 ประการ คือ 1. ความสามารถในการรับจำนวนประชากร เนื่องจากศักย์ในการผลิตของพื้นที่ ในระดับค่าใช้จ่ายครัวเรือนถัวเฉลี่ยของภาคใต้ 1.1 ความสามารถในการรับจำนวนประชากร เนื่องจากมูลค่าจากผลผลิตสาขาเกษตรกรรม เหมืองแร่ อุตสาหกรรม และจากรัฐบาลในอำเภอต่าง ๆ 1.2 ความสามารถในการรับจำนวนประชากรสูงสุดของพื้นที่โดยเฉพาะการกสิกรรม 2. เพื่อต้องการทราบว่า ประชากรในอาชีพเศรษฐกิจหลัก สามารถเลี้ยงประชากรในอาชีพเศรษฐกิจรอง (อาชีพพึ่งพา) ได้เป็นจำนวนเท่าใด ในการศึกษาจึงได้แยกการศึกษาออกเป็น 3 สาขาด้วยกัน คือ ก. การเกษตรกรรม ( Primary Sector ) ซึ่งประกอบด้วยกสิกรรม ปสุสัตว์ ประมง และ ป่าไม้ ข. เหมืองแร่และอุตสาหกรรม ( Secondary Sector) ซึ่งประกอบด้วยการทำเหมืองแร่ และอุตสาหกรรมฐานในจังหวัด ค. รายได้ของข้าราชการ ลูกจ้างและพนักงานรัฐวิสาหกิจ ( Tertiary Sector ) ซึ่งรัฐบาลส่วนกลางจ่ายให้ ในการวิเคราะห์เพื่อให้ได้คำตอบในข้อ 1.1 ได้ โดยนำกำไรสุทธิของผู้ประกอบการในแต่ละสาขา หารด้วยค่าไช้จ่ายครัวเรือน ได้เป็นจำนวนครัวเรือนที่สามารถรับได้ ในแต่ละสาขาของอำเภอต่าง ๆ และในข้อ 1.2 โดยใช้สูตรในการคำนวณ คือ จำนวนครัวเรือนที่สามรถรับได้สูงสุด = (พื้นที่กสิกรรม x ผลกำไรต่อไร่)/ค่าใช้จ่ายครัวเรือน จากผลการศึกษาได้ว่า แต่ละอำเภอมีความสามารถรับจำนวนประชากรแตกต่างกัน และความสามารถในการรับจำนวนประชากรสูงสุด ( Ultimate) เมื่อใช้พื้นที่กสิกรรมเต็มที่จะรับได้ 190,219 ครัวเรือน ซึ่งเพิ่มจากครัวเรือนปี 2520 เป็นจำนวน 111,572 ครัวเรือน สำหรับการวิเคราะห์เพื่อผลในข้อที่ 2 โดยนำรายจ่ายทั้งในด้านการลงทุนและในการอุปโภคของประชากรในอาชีพเศรษฐกิจหลัก ซึ่งส่วนหนึ่งจะตกเป็นกำไรของพ่อค้าบริการ (อาชีพพึ่งพา) และเงินจำนวนนี้ คือ เงินที่ประชากรอาชีพค้าบริการนำไปใช้จ่ายเป็นเงินหมุนเวียนในตลาดการค้ารอบที่ 2 จากการวิเคราะห์สรุปได้ว่า ประชากรในอาชีพเศรษฐกิจหลักสามารถเลี้ยงประชากรในอาชีพเศรษฐกิจรองได้ ร้อยละ 11.80 นั่นคือ ค่าใช้จ่ายจากประชากรอาชีพเศรษฐกิจหลัก 100 คน จะเลี้ยงประชากรในอาชีพเศรษฐกิจรองได้ 11.80 คน จากผลสรุปในข้อ 5.1 ได้นำมาใช้ในการวางแผนพัฒนาจังหวัด เพื่อจัดลำดับความเร่งด่วนในการพัฒนาพื้นที่ยากจนในเขตชนบทของจังหวัดสุราษฎร์ธานี ทั้งนี้ เพื่อให้สอดคล้องกับแนวทางและเป้าหมายของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 5 | - |
dc.description.abstractalternative | Surat Thani has been once a closed province due to its communication limitation. By that time the railway was the only transport route accessing the Province from the outside areas. Overcoming of that limitation started in 1978 when the roads to neighbouring provinces were constructed and became the main access to Surat Thani. In terms of the area, Surat Thani is the biggest province with 13,802.14 square kilometers. However to population density, 41 people per square kilometers as in 1977, is the lowest of the South and much lower than the national average record, that is 77 people per square kilometers. Since Surat Thani is a very rich province with much natural resources, namely forest, mineral, fishery and tourism, it is expected that the improved transport should cause the population influx. Therefore, the thesis was aimed to study of the carrying capacity of Surat Thani to support the in-migration especially in agricultural sector, based on the balance between the natural resource and the increased population. The objectives of this study is two feld. 1. To know the population carrying capacity of Surat Thani which may be derived from the proportion between the potential production profit of the area and the average expense of the households. 1.1 The capacity to support the people by the potential production in primary, secondary and tertiary sectors in each Amphoe. 1.2 The ultimate capacity to support the people considering only the crop production. 2. To know the appropriate proportion between the basic and non-basic population. Therefore, the study was concentrated in 3 sectors of economic activities. They are, a) Primary sector, composed of crop, liveslock, fishery and forestry. b) Secondary sector, composed of mining and basic industry. c) Tertiary sector, composed of governmental officer’s income. To get the answer for the objective 1.1, the household numbers can be calculated from the net profit of octrepreneurs in each economic sectors divided by the expense of the households. The objective 1.2 may be obtained from the following formulation: "The ultimate carrying capacity = " "Total crop land x Profit per Rai" /"Househld expenses" The study reveals that the population carrying capacity is different in each Amphoe. The maximum number of population supported in the maximum land crop is 190,219 households. This will be increased by 111,572 from the year 1977. The answer of the second objective was derivec from the analysis of the expense paid by the people in the three economic sectors. It appeared that one part of the expense becomes the entrepreneurs profit in service sector. Therefore, it is the income from basic employment population to the non-basic one. The conclusion can be that the population in basic economic sector can support for 11.80 percent of the population in non-basic economic sector. In summary, this theses gave the answer of the population carrying capacity and the proportion between population in basic and non-basic economic sector of Surat Thani. The result of the study was expected to be useful in further development planning of the Province. It can be also the guideline for the “poor” Amphoe development according to the Fifth National, Economic and Social Planning. | - |
dc.format.extent | 681466 bytes | - |
dc.format.extent | 390723 bytes | - |
dc.format.extent | 735447 bytes | - |
dc.format.extent | 2031020 bytes | - |
dc.format.extent | 4050634 bytes | - |
dc.format.extent | 418066 bytes | - |
dc.format.extent | 1279679 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | ความหนาแน่นของประชากร | - |
dc.subject | สุราษฎร์ธานี -- ประชากร | - |
dc.subject | ผังเมือง | - |
dc.title | ความสามารถในการรับกำลังประชากร ของจังหวัดสุราษฎร์ธานี | en |
dc.title.alternative | The study on boaring capacity of population in Changwat Surat Thani | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | การวางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | การวางผังเมือง | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Saroj_Wi_front.pdf | 665.49 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Saroj_Wi_ch1.pdf | 381.57 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Saroj_Wi_ch2.pdf | 718.21 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Saroj_Wi_ch3.pdf | 1.98 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Saroj_Wi_ch4.pdf | 3.96 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Saroj_Wi_ch5.pdf | 408.27 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Saroj_Wi_back.pdf | 1.25 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.