Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26732
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประศักดิ์ หอมสนิท-
dc.contributor.authorสิทธิพร ลิ้มบริบูรณ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-11-28T11:08:15Z-
dc.date.available2012-11-28T11:08:15Z-
dc.date.issued2518-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26732-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2518en
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างแบบจำลองการสอนจุลภาคเรื่อง “การส่งเสริมให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการเรียน” 2. เพื่อวิเคราะห์ประสิทธิภาพของแบบจำลองการสอนจุลภาคที่สร้างขึ้น การดำเนินการ ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับการสอนจุลภาคโดยเน้นทักษะการส่งเสริมให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการเรียน ต่อมากำหนด และสร้างตัวแบบจำลองการสอนในรูปของเทปบันทึกภาพ แล้วขอแต่งตั้งคณะกรรมการรับรองคุณภาพของแบบจำลอง หลังจากนั้นจึงสร้างและเสนอวิธีแก้ปัญหาออกมาเป็นเทปบันทึกภาพ เขียนคู่มือครู คู่มือนิสิต เพื่อใช้คู่กับเทปบันทึกภาพที่สร้างขึ้นและหาประสิทธิภาพของแบบจำลองการสอนจุลภาคดังกล่าวข้างต้น โดยการนำข้อสอบซึ่งวิเคราะห์หาความเชื่อถือได้ ( Reliability ) ได้ .80 ไปทดสอบนักศึกษาวิทยาลัยครูสวนดุสิตชั้นปีที่ 3 การทดสอบนี้กระทำ 2 ครั้ง โดยเว้นช่วงเวลาระหว่างการทดสอบทั้ง 2 ครั้งไว้ 1 อาทิตย์ การทดสอบครั้งแรกเป็นการทดสอบก่อนการดูเทปบันทึกภาพ ส่วนการทดสอบครั้งหลังเป็นการทดสอบหลังจากที่ได้ดูเทปบันทึกภาพแล้ว หลังจากนั้น จึงนำคะแนนเฉลี่ยที่ได้จากการทดสอบทั้ง 2 ครั้งมาวิเคราะห์หาความแตกต่างโดยใช้การทดสอบค่าที ( t – test ) ผลการวิจัย 1. คณะกรรมการประเมินผลคุณภาพของแบบจำลองการสอนจุลภาคเรื่อง “การส่งเสริมให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการเรียน” ยอมรับว่าแบบจำลองเรื่องดังกล่าวนี้มีคุณภาพอยู่ในเกณฑ์ดี จากการวิจัยครั้งนี้พบว่า โดยเฉลี่ยแล้ว คะแนนจากการทดสอบหลังการดูแบบจำลองการสอนจุลภาคเรื่อง “การส่งเสริมให้นักเรียนทีส่วนร่วมในการเรียน” สูงกว่าคะแนนจากการทดสอบก่อนการดูแบบจำลอง และคะแนนจากการทดสอบทั้ง 2 ครั้งนี้ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับความมีนัยสำคัญ .01 นั่นคือนักศึกษาครูที่ได้ดูแบบจำลองการสอนจุลภาคเรื่อง “การส่งเสริมให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการเรียน” แล้วมีความรู้และประสบการณ์เกี่ยวกับการส่งเสริมให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการเรียนเพิ่มขึ้น ข้อเสนอแนะ 1. ควรมีการศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับเรื่องโครงการ การฝึกหัดครูโดยเปรียบเทียบผู้ศึกษา 2 กลุ่มคือ กลุ่มควบคุมใช้วิธีการฝึกสอนแบบธรรมดา และกลุ่มทดลองใช้การฝึกสอนโดยใช้การสอนจุลภาค 2. ควรจัดตั้งคลินิกการสอนจุลภาคในสถาบันฝึกหัดครูเพื่อเป็นเครื่องช่วยปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอน-
dc.description.abstractalternativePurpose The purpose of this study was (1) to Construct a microteaching model on “encouraging student’s participation in learning” (2) to find the quality of the constructed model. Procedures To achieve the objectives of this study the procedures, information was gathered from relevant literatures and research studies and a model script was written for videotape. After the videotape model had been constructed the validating committee determined its quality. The evaluation form of the model was then constructed. By random sampling 30 first year students for the Higher Certificate of Education at Suan Dusit Teacher Training College were given the pre-test before watching the model, a week later after watching the model, the post-tests were given. The data was computed to find a significant difference at .01 level using t-test statistical technique. Result The quality of the Microteaching Model on “Encouraging Student’s Participation in Learning” was certified by validating committee. The pre-test and post-test scores yielded a significant difference at the .01 level indicating that the students who watched the model had increased the experience and knowledge on encouraging students participation in learning. Recommendations 1. There should be logical follow-up this study in teacher training program. The control group would be in conventional training while the experimental group would receive a microteaching model on encouraging student’s participation in learning. 2. Microteaching clinics should be established in teacher training institutions to improve the teaching and learning process.-
dc.format.extent421452 bytes-
dc.format.extent562007 bytes-
dc.format.extent812582 bytes-
dc.format.extent339679 bytes-
dc.format.extent321319 bytes-
dc.format.extent341894 bytes-
dc.format.extent1351442 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการสอนแบบจุลภาค-
dc.titleแบบจำลองการสอนจุลภาคเรื่อง "การส่งเสริมให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการเรียน"en
dc.title.alternativeA microteaching model on "encouraging students's participation in learning"en
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineโสตทัศนศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sittiporn_Li_front.pdf411.57 kBAdobe PDFView/Open
Sittiporn_Li_ch1.pdf548.83 kBAdobe PDFView/Open
Sittiporn_Li_ch2.pdf793.54 kBAdobe PDFView/Open
Sittiporn_Li_ch3.pdf331.72 kBAdobe PDFView/Open
Sittiporn_Li_ch4.pdf313.79 kBAdobe PDFView/Open
Sittiporn_Li_ch5.pdf333.88 kBAdobe PDFView/Open
Sittiporn_Li_back.pdf1.32 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.