Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26745
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทวีวัฒน์ ปิตยานนท์-
dc.contributor.advisorกิติยวดี บุญซื่อ-
dc.contributor.authorสุนีย์ เหมะประสิทธิ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-11-28T11:26:34Z-
dc.date.available2012-11-28T11:26:34Z-
dc.date.issued2525-
dc.identifier.isbn9745612162-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26745-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2525en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อเปรียบเทียบวิธีการทางสถิติ 4 วิธี สำหรับวิเคราะห์ข้อมูลจากแผนแบบที่มีกลุ่มควบคุมและการทดสอบก่อนและหลัง วิธีทางสถิติทั้ง 4 วิธีได้แก่ (1) วิธีวิเคราะห์ความแปรปรวนของคะแนนการทดสอบครั้งหลัง (2) วิธีวิเคราะห์ความแปรปรวนของผลต่างของคะแนนการทดสอบก่อนและหลัง (3) วิธีวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วมของคะแนนการทดสอบครั้งหลังโดยใช้คะแนนการทดสอบก่อนเป็นตัวแปรร่วม (4) วิธีวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วมของผลต่างของคะแนนการทดสอบก่อนและหลัง โดยใช้คะแนนการทดสอบก่อนเป็นตัวแปรร่วม เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แบบสอบเชาวน์ปัญญาเมทริซิสก้าวหน้าสี และแลลสอบความเข้าใจในการฟังที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น กลุ่มตัวอย่างได้แก่ นักเรียนชั้นประถมปีที่ 1 โรงเรียนวัดเวตวันธรรมวาส กรุงเทพมหานคร จำนวน 80 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีทางสถิติทั้ง 4 วิธี และทดสอบข้อตกลงเบื้องต้นของวิธีทางสถิติทั้ง 4 วิธี ผลการวิจัยปรากฏว่า 1. วิธีวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วมของผลต่างของคะแนนการทดสอบก่อนและหลัง โดยใช้คะแนนการทดสอบก่อนเป็นตัวแปรร่วม เป็นวิธีทางสถิติที่เหมาะสมเพราะ 1.1 เป็นวิธีที่ข้อตกลงเบื้องต้นสอดคล้องกับลักษณะของข้อมูล 1.2 ผลที่ได้จากการวิเคราะห์ที่เกี่ยวกับตัวแปรเชาวน์ปัญญาและเพศ ได้ผลตามเกณฑ์ กล่าวคือ 1.2.1 นักเรียนที่มีระดับเชาวน์ปัญญาสูงจะมีความเข้าใจในการฟังสูงกว่านักเรียนที่มีระดับเชาวน์ปัญญาต่ำอย่างมีนัยสำคัญอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 1.2.2 นักเรียนชายและหญิงมีความเข้าใจในการฟังไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 1.3 ค่าความคลาดเคลื่อนต่ำกว่าวิธีอื่น 2. ความเข้าใจในการฟังของนักเรียนที่ฟังนิทานจากเทปบันทึกเสียง และฟังนิทานจากเทปบันทึกเสียงประกอบสไลด์ ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to compare the four statistical methods for analyzing the data from pretest-posttest control group desing. These methods included (1) an analysis of variance on the posttest scores ; (2) an analysis of variance on the gain scores; (3) an analysis of covariance on the posttest scores using the protest as a covariate; (4) an analysis of covariance on the gain scores using the pretest as a covariate. The instruments used were the Coloured Progressive Matrices and the listening comprehension tests, the later were constructed by researcher. The subjects were 80 Prathomsuka I pupils from Watwatawanthomwas school, Bangkok Metropolis. The data were analyzed by the four statistical methods and the assumptions were tested. The results were the followings: 1. The analysis of covariance on the gain scores using the pretest as a covariate was the most appropriate statistical method because 1.1 The assumptions of covariance were mot. 1.2 The results agreed with the expected criteria about intelligence and sex variables as followed: 1.2.1 The high – intelligent pupils showed a statistically greater gain than the low-intelligent pupils in listening comprehension. 1.2.1 No significant differences were found between the listening comprehension of girls and boys. 1.3 Provided the least mean square errors comparing with the other methods. 2. There was not significant difference in the listening comprehension between the subjects who listened to the tale from the tape and those who listened to the tape and watched the slide at the sometime.-
dc.format.extent510169 bytes-
dc.format.extent620398 bytes-
dc.format.extent957277 bytes-
dc.format.extent496005 bytes-
dc.format.extent702229 bytes-
dc.format.extent435309 bytes-
dc.format.extent1203974 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการศึกษา -- วิจัย-
dc.subjectสถิติศาสตร์-
dc.titleวิธีการทางสถิติที่เหมาะสมในการเปรียบเทียบผลของวิธีสอนสองแบบen
dc.title.alternativeThe appropriate statistical methods in the comparative study of two teaching methodsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิจัยการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sunee_Ha_front.pdf498.21 kBAdobe PDFView/Open
Sunee_Ha_ch1.pdf605.86 kBAdobe PDFView/Open
Sunee_Ha_ch2.pdf934.84 kBAdobe PDFView/Open
Sunee_Ha_ch3.pdf484.38 kBAdobe PDFView/Open
Sunee_Ha_ch4.pdf685.77 kBAdobe PDFView/Open
Sunee_Ha_ch5.pdf425.11 kBAdobe PDFView/Open
Sunee_Ha_back.pdf1.18 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.