Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26864
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอภิรัตน์ เพ็ชรศิริ-
dc.contributor.advisorพรเพชร วิชิตชลชัย-
dc.contributor.authorชูพล ประทุมทาน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-11-29T04:43:04Z-
dc.date.available2012-11-29T04:43:04Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9745313349-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26864-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้มุ่งศึกษาหลักกฎหมายเกี่ยวกับการแก้ไขคำพิพากษาหรือการบรรเทาผลของคำพิพากษาที่เกิดขึ้นโดยมิชอบ และคดีถึงที่สุดแล้ว โดยไม่สามารถแก้ไขด้วยการอุทธรณ์ฎีกาหรือวิธีอื่นได้ไม่ว่าวิธีการแก้ไขนั้น จะมีวิธีดำเนินการหรือมีชื่อเรียกอย่างไร จากการศึกษาพบว่า ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งบัญญัติวิธีการในการแก้ไขคำพิพากษาถึงที่สุด ที่มีข้อผิดพลาดไว้หลายกรณี ตัวอย่างเช่น การแก้ไขคำพิพากษาที่มีข้อผิดพลาดหรือ ผิดหลงเล็กน้อย (มาตรา 143) คำพิพากษาหรือคำสั่งขัดกัน (มาตรา 146) การเพิกถอนกระบวนพิจารณาที่ ผิดระเบียบ (มาตรา 27) การร้องสอดเข้ามาในชั้นบังคับคดี (มาตรา 57) อย่างไรก็ดี บทบัญญัติข้างต้น สามารถแก้ไขข้อผิดพลาดต่างๆ ในกรณีที่คำพิพากษาถึงที่สุดได้ในระดับหนึ่งเท่านั้น ผู้วิจัยพบว่า ยังมีข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นจากคำพิพากษาอีกหลายประการที่ยังคงผูกพันคู่ความหรือบุคคลภายนอกอยู่ และยังไม่มีบทบัญญัติโดยชัดแจ้งเพื่อแก้ไขหรือบรรเทาความเสียหายที่เกิดจากคำพิพากษาเหล่านี้ เช่น มีพยานหลักฐานใหม่ พยานหลักฐานในคดีเดิม เป็นเท็จ คำพิพากษานั้นได้ตัดสินเพราะความทุจริตของผู้เกี่ยวข้องในกระบวนการศาลตัดสินข้อเท็จจริงในคดีแพ่งเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา โดยไม่ได้นำข้อเท็จจริงในคดีอาญามาตัดสินเป็นต้น วิทยานิพนธ์นี้ยืนยันว่าประเทศไทยยังมีความต้องการกฎหมายเพื่อนำมาใช้แก้ไขข้อผิดพลาดในคำพิพากษาที่ถึงที่สุดแล้วในกรณีอื่นๆ อีก ดังนั้นจึงเป็นการพิสูจน์ว่าสมมติฐานที่ว่า “ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาใหม่ไม่เพียงพอ สมควรที่จะมีการแก้ไข หรือ ตรากฎหมายใหม่ที่เหมาะสม เพื่อเป็นช่องทางให้สามารถบรรเทาความเสียหายที่เกิดขึ้นจากคำพิพากษาที่ตัดสินโดยมิชอบได้มากขึ้น” นั้นเป็นจริง และควรมีการปรับปรุงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งเพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ที่เกี่ยวข้องสามารถแก้ไขคำพิพากษาที่ถึงที่สุดแล้วได้ ตามรูปแบบที่ผู้เขียนเสนอแนะไว้ท้ายวิทยานิพนธ์นี้-
dc.description.abstractalternativeThis thesis focuses its study on amendments and remedies for erroneous and unlawful judgments which have been rendered at their finality and cannot be redressed by way of appeal or by any other existing means. The study found that there are various measures for correction of errors in a final judgment provided in the Civil Procedure Code, e.g. correction of minor mistakes or errors (Section 143), conflicting judgments or orders (Section 146), setting aside undue court proceedings (Section 27), interpleading during execution process (Section 57). However, these measures can relieve the effect of mistakes in the final judgments only to a limited extent. There still exist various issues that will still be binding upon the parties or third persons without proper solution. For example, presence of new evidence, revealed falseness of used evidence, revealed dishonesty of related parties, and factual determination in a civil case without due consideration of facts as found in the related criminal case, etc. Thailand still needs some new legal amendments to provide other measures to correct such erroneous final judgments. Therefore, research result proves the hypothesis that “the current Thai Civil Procedure Code‘s provisions provides inadequate measures to safeguard undesirable consequences arisen from erroneous or unlawful judgments or to retrial the case, and that it is appropriate to revise the current laws or enact new ones in order to lessen the negative impacts incurred from improper judgments". And thus it is proper to amend the Civil Procedure Code to allow the process for correction of final judgments, as suggested in detail by the writer in this thesis.-
dc.format.extent2398029 bytes-
dc.format.extent2188992 bytes-
dc.format.extent11575498 bytes-
dc.format.extent12656463 bytes-
dc.format.extent12478154 bytes-
dc.format.extent4122384 bytes-
dc.format.extent9837500 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectกฎหมายแพ่ง-
dc.subjectการรื้อฟื้นคดีขึ้นพิจารณาใหม่-
dc.subjectการพิจารณาและตัดสินคดี-
dc.titleการรื้อฟื้นคดีแพ่งขึ้นพิจารณาใหม่en
dc.title.alternativeRetrial in civil procedureen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Law - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chuphol_pr_front.pdf2.34 MBAdobe PDFView/Open
Chuphol_pr_ch1.pdf2.14 MBAdobe PDFView/Open
Chuphol_pr_ch2.pdf11.3 MBAdobe PDFView/Open
Chuphol_pr_ch3.pdf12.36 MBAdobe PDFView/Open
Chuphol_pr_ch4.pdf12.19 MBAdobe PDFView/Open
Chuphol_pr_ch5.pdf4.03 MBAdobe PDFView/Open
Chuphol_pr_back.pdf9.61 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.