Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26874
Title: A double blind randomized placebo-controlled trial to compare the effectiveness of paracervical block plus intrauterine anesthesia and paracervical block alone for pain relief during fractional curettage
Other Titles: การศึกษาประสิทธิภาพของการฉีดยาชาที่เนื้อเยื่อข้างปากมดลูกร่วมกับการใส่ยาชาเข้าโพรงมดลูกเปรียบเทียบกับการฉีดยาชาที่เนื้อเยื่อข้างปากมดลูกเพียงอย่างเดียวเพื่อลดความเจ็บปวดระหว่างการขูดมดลูกแบบแยกส่วน
Authors: Manee Rattanachaiyanont
Advisors: Sompop Limpongsanurak
Visanu Thamalikhitkul
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Medicine
Issue Date: 2003
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Background: Paracervical block (PCB) can reduce pain during fractional curettage (F/C) to moderate degree. Attempt should be made to further reduce pain intensity. Objective: To compare the effectiveness of PCB plus intrauterine anesthesia (IUA) and PCB alone for pain relief during F/C. Study design: A double blind randomized placebo-controlled trial. Materials and Methods: Fifty-two patients with abnormal uterine bleeding undergoing F/C in the Faculty of Medicine Siriraj Hospital were randomized to control group (n=27) receiving PCB alone, or treatment group (n=25) receiving PCB plus IUA. Outcome measured: Pain intensity during F/C measured by 10-cm Visual Analogue Scale (VAS). Results: The median value of pain score in the treatment group (2.3 cm) was significantly lower than that of the control group (4.7 cm), P = 0.033. There was no difference in patient satisfaction index or incidence of adverse events between the 2 groups. Conclusion: PCB plus IUA can reduce pain during F/C to mild degree which is better than PCB alone. PCB plus IUA may be an alternative for pain relief method during F/C.
Other Abstract: ความเป็นมา : การฉีดยาชาเฉพาะที่เข้าที่เนื้อเยื่อข้างปากมดลูกสามารถลดความเจ็บปวดระหว่างการขูดมดลูกแบบแยกส่วนลงมาอยู่ในระดับเจ็บปวดปานกลาง น่าจะมีวิธีลดความเจ็บปวดให้น้อยลงได้อีก วัตถุประสงค์การวิจัย : เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของการฉีดยาชาที่เนื้อเยื่อข้างปากมดลูกร่วมกับการใส่ยาชาเข้าในโพรงมดลูก เปรียบเทียบกับการฉีดยาชาที่เรื้อเยื่อข้างปากมดลูกเพียงอย่างเดียว เพื่อลกความเจ็บปวดระหว่างการขูดมดลูกแบบแยกส่วน รูปแบบการวิจัย : Double blind random1zed placebo-controlled trial วัตถุและวิธีการ : สตรีจำนวน 52 รายที่มีภาวะเลือกออกผิดปกจิจากโพรงมดลูก และได้รับการขูดมดลูกแบบแยกส่วนที่คณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล ผู้ป่วย 27 รายได้รับการสุ่มเข้ากลุ่มควบคุมซึ่งได้รับการฉีดยาชาที่เนื้อเยื่อข้างปากมดลูกเพียงอย่างเดียว อีก 25 รายเข้ากลุ่มรักษาซึ่งได้รับการฉีดยาชาที่เนื้อเยื่อข้างปากมดลูกร่วมกับการใส่ยาชาเข้าในโพรงมดลูก การวัดผล : วัดความเจ็บปวดระหว่างการขูดมดลูกโดยใช้เครื่องมือ 10-cm Visual Analogue Scale ผลการวิจัย : ค่ามัธยฐานของความเจ็บปวดในกลุ่มรักษา (2.3 ซม.) อยู่ในระดับต่ำกว่ากลุ่มควบคุม (4.7 ซม.) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (ค่าพี 0.033) ส่วนความพึงพอใจของผู้ป่วยต่อผลการรักษา และภาวะแทรกซ้อนจากการรักษาไม่มีความแตกต่างกัน สรุป : การฉีดยาชาที่เนื้อเยื่อข้างปาดมดลูกร่วมกับการใส่ยาชาเข้าในโพรงมดลูก สามารถระงับความเจ็บปวดระหว่างการขูดมดลูกแบบแยกส่วนได้ดีกว่าการฉีดยาชาที่เนื้อเยื่อปากมดลูกเพียงข้างเดียว วิธีการนี้จึงน่าจะเป็นอีกทางเลือกหนึ่งสำหรับวิธีระงับความเจ็บปวดระหว่างการขูดมดลูกแบบแยกส่วน
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2003
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Health Development
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26874
ISBN: 9741743637
Type: Thesis
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Manee_ra_front.pdf2.51 MBAdobe PDFView/Open
Manee_ra_ch1.pdf1.64 MBAdobe PDFView/Open
Manee_ra_ch2.pdf1.6 MBAdobe PDFView/Open
Manee_ra_ch3.pdf1.99 MBAdobe PDFView/Open
Manee_ra_ch4.pdf743.13 kBAdobe PDFView/Open
Manee_ra_ch5.pdf801.77 kBAdobe PDFView/Open
Manee_ra_ch6.pdf2.74 MBAdobe PDFView/Open
Manee_ra_ch7.pdf2.11 MBAdobe PDFView/Open
Manee_ra_back.pdf5.09 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.