Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27028
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมชาย พัวจินดาเนตร
dc.contributor.authorศุภชัย ภิสัชเพ็ญ
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2012-11-29T11:35:43Z
dc.date.available2012-11-29T11:35:43Z
dc.date.issued2539
dc.identifier.isbn9746329456
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27028
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539en
dc.description.abstractอุตสาหกรรมสับปะรดกระป๋องนับว่าเป็นอุตสาหกรรมหนึ่งที่มีความสำคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศไทย วิทยานิพนธ์นี้เป็นการวิจัยเพื่อหาแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการผลิตสับปะรดกระป๋อง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพของสายการเตรียมและการแปรรูปสับปะรด จากการศึกษาพบว่าปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพในกระบวนการผลิตได้แก่ ปัญหาลูกสับปะรดที่มีตำหนิที่สามารถสังเกตได้จากภายนอก ปัญหาลูกสับปะรดที่มีตำหนิจากการทำงานของเครื่องปอกตลอดจนวิธีการเจียนตกแต่ง การจิกตาและการบรรจุสับปะรดชิ้นแว่น ซึ่งงานวิจัยได้เสนอแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ข้างต้น โดยการจัดทำมาตรฐานการปฏิบัติงานและการตรวจสอบเพื่อใช้ในการปรับปรุงแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ข้างต้น โดยการจัดทำมาตรฐานการปฏิบัติงานและการตรวจสอบเพื่อใช้ในการฝึกอบรมและควบคุมพนักงานให้ปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ ตลอดจนอาศัยหลักการศึกษาการทำงาน (Work study) เพื่อปรับปรุงวิธีการเจียนตกแต่ง การจิกตาและการบรรจุสับปะรดชิ้นแว่นซึ่งทั้งหมดนี้ได้นำไปสู่การปรับปรุงอัตราผลผลิตสับปะรด ผลการศึกษาและปรับปรุงพบว่า ปริมาณลูกสับปะรดที่มีตำหนิที่สามารถสังเกตได้จากภายนอกทั้งหมดเฉลี่ยลดลงจากร้อยละ 32.60 เป็น ร้อยละ 15.28 ของปริมาณลูกสับปะรดที่นำเข้า หรือลดลงร้อยละ 53.13 ของปริมาณลูกสับปะรดที่มีตำหนิในอดีต ปริมาณลูกสับปะรดที่มีตำหนิจากการทำงานของเครื่องปอกเปลือกเฉลี่ยลดลงร้อยละ 32.23 ส่วนอัตราการเจียนตกแต่ง (ลูก/นาที,ลูก/คน,ลูก/คน-นาที) เฉลี่ยเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.75, 18.23 และ 12.01 ตามลำดับ นอกจากนี้อัตราผลผลิตสับปะรดด้านวัตถุดิบ(กก./ตัน) ด้านแรงงาน(กก./คน) ด้านแรงงานและวัตถุดิบ(กก./คน-ตัน) เฉลี่ยเพิ่มขึ้นร้อยละ 10.03, 32.36 และ 21.03 ตามลำดับ
dc.description.abstractalternativeThe manufacturing of canned pineapple is one of major industries which are important to Thailand Economy. The aim of the thesis was to study the efficiency improvement canned pineapple production which was emphasized on preparation process. The study was found that the major factors affecting production efficiency were pineapple with visual noticeable external defects, pineapple with peeling machine (ginaca) oriented defects and trimming, poking, slices packing method. The research had purposed the guideline of the problem solution via setting up the standard operating procedure, inspection procedure and work study. The results of implementation showed significantly that the number of defected pineapple decreased in production line. The quantity of pineapple with visual noticeable external defects decreased from 32.60% to 15.28% of total incoming pineapples or 53.13% decreased. The quantity of pineapple with peeling machine (ginaca) oriented defects decreased by 32.23% whereas the trimming rates (pine/min., pine/man, pine/man-min.) increased by 1.75%, 18.23%, and 12.01% respectively. Furthermore, raw material productivity (kg./man-ton) increased by 10.03%, 32.36%, and 21.03% respectively.
dc.format.extent5636163 bytes
dc.format.extent4626028 bytes
dc.format.extent13903797 bytes
dc.format.extent16177506 bytes
dc.format.extent18693510 bytes
dc.format.extent47833451 bytes
dc.format.extent13756248 bytes
dc.format.extent3256289 bytes
dc.format.extent56744864 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการปรับปรุงประสิทธิภาพในกระบวนการผลิตสับปะรดกระป๋องen
dc.title.alternativeEfficiency improvement in canned pineapple production processen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Supachai_pi_front.pdf5.5 MBAdobe PDFView/Open
Supachai_pi_ch1.pdf4.52 MBAdobe PDFView/Open
Supachai_pi_ch2.pdf13.58 MBAdobe PDFView/Open
Supachai_pi_ch3.pdf15.8 MBAdobe PDFView/Open
Supachai_pi_ch4.pdf18.26 MBAdobe PDFView/Open
Supachai_pi_ch5.pdf46.71 MBAdobe PDFView/Open
Supachai_pi_ch6.pdf13.43 MBAdobe PDFView/Open
Supachai_pi_ch7.pdf3.18 MBAdobe PDFView/Open
Supachai_pi_back.pdf55.41 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.