Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27052
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมภาร พรมทา | - |
dc.contributor.author | วัฒกร เรืองจินดาวลัย | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2012-11-30T02:13:06Z | - |
dc.date.available | 2012-11-30T02:13:06Z | - |
dc.date.issued | 2547 | - |
dc.identifier.isbn | 9745311758 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27052 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 | en |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีจุดประสงค์ที่จะศึกษาว่า ตามทัศนะของพุทธปรัชญาเถรวาท มีกรณีใดหรือไม่ที่การุณยฆาตเป็นสิ่งที่สามารถกระทำได้ ผลการศึกษาพบว่า แม้ว่าหลักจริยศาสตร์ของพุทธศาสนาเถรวาทจะมีลักษณะเป็นแบบสัมบูรณนิยม แต่เนื่องจากพุทธศาสนามีคำสอนอีกส่วนหนึ่งที่พิจารณาน้ำหนักของความผิดและความถูกในการกระทำอย่างใดอย่างหนึ่งจากรายละเอียดเกี่ยวกับการกระทำนั้นๆด้วย ทำให้พุทธศาสนามีแนวโน้มที่จะยอมรับว่า การกระทำบางอย่างแม้จะวินิจฉัยได้ในเบื้องต้นว่าผิดตามหลักการเชิงสัมบูรณนิยมที่ใช้การดูเจตนาอันประกอบด้วยกูศลมูลหรืออกุศลมูลเป็นเกณฑ์ แต่ถ้าในรายละเอียด การกระทำนั้นเป็นการเลือกที่ดีที่สุด ซึ่งสามารถอธิบายให้เกี่ยวโยงกับประเด็นเรื่องประโยชน์ตามหลักการของพุทธศาสนาหรือหลักการอื่นๆ เช่นเรื่องความตาม ความเชื่อเรื่องกรรมและการเวียนว่ายตายเกิด เป็นต้น การกระทำผิดนั้นก็จะมีความเข้มข้นลดน้อยลงตามสัดส่วนของคำอธิบาย จนถึงระดับที่ว่าอาจเป็นไปได้ที่ความผิดนั้นน้อยมากจนแทบจะถือได้ว่าไม่ผิด ดังเช่นการฆ่าตัวตายของพระภิกษุบางรูปเพื่อรักษาการบรรลุธรรมบางอย่างเอาไว้ ในเรื่องการทำการุณยฆาต ผู้วิจัยพบว่า มีคำแนะนำในเชิงเป็นทางออกแก่ผู้ป่วยด้วยโรคร้ายที่ไม่มีทางรักษาให้กลับฟื้นว่า หากความตายเป็นทางออกที่ดีที่สุดในแง่ที่ไม่ก่อให้เกิดภาระแก่ผู้อื่นที่ต้องดูแลตน การงดอาหารและยาเป็นสิ่งที่สมควรกระทำ ส่วนผู้ที่ดูแลคนไข้ประเภทนี้อยู่ หากเห็นว่าการยุติชีวิตคนไข้โดยการไม่สนับสนุนปัจจัยในการดำรงอยู่เช่นอาหารและยาเป็นทางเลือกที่ดีที่สุด การยุติความช่วยเหลือนั้นก็สามารถกระทำได้ กล่าวโดยสรุป งานวิจัยนี้พบว่าการุณยฆาตทางอ้อมที่กระทำแก่คนไข้ที่ไม่มีทางรักษาให้กลับฟื้นคืนดี ซึ่งเจ้าตัวยินยอม ด้วยเหตุผลเรื่องการช่วยปลดภาระแก่คนแวดล้อมใกล้ชิด เป็นสิ่งที่พุทธศาสนายอมรับได้ ผู้วิจัยได้วิเคราะห์ให้เห็นว่าที่พุทธศาสนายอมรับกรณีเช่นนี้ได้เกี่ยวโยงกับแนวคิดเรื่องประโยชน์และแนวคิดเรื่องความตายที่พุทธศาสนาสอนนั่นเอง | - |
dc.description.abstractalternative | The main objective of the thesis is to find out whether, according to Theravada Buddhist ethic, there is a possibility of an ethically permissible euthanasia. The study shows that despite being considered an absolutistic, Theravada Buddhist ethic gives a significant consideration for particularities in moral situations. This is turn leads us to a curious conclusion that, though primarily euthanasia is wrongful, it can, at the same time, be morally permissible. That is, by applying the concept of intention- kusalamula- euthanasia should be considered wrongful. However, it is argued that particularlities in particular cases of euthanasia, for example, the purposes of the euthanasia, are significant factors determining the degree of wrongness. This is analogous to cases of suicide mentioned in the Pali Canon, for example, suicide committed by monks who have achieved higher spiritual developmental state. These cases were deemed permissible as suicide was considered as a means to prevent a spiritual decline. In the case of euthanasia, guidelines for incurable patients can be depicted in Theravada Buddhist ethic. For those with incurable diseases who, at the same time, cause tremendous amount of suffering and stress to the ones looking after them, rejection of food and medicine is permissible. On the other hand, those who are responsible for the above patients, allowing patients to die is permissible. Thus, it can be concluded at least one case of euthanasia is morally permissible. That is a passive euthanasia done under the will of the patients and for reducing the stress and suffering in those looking the patients. The permissibility of euthanasia is closely connected to the principle of attha (moral advantage) and the concept of death in Buddhism. | - |
dc.format.extent | 2026061 bytes | - |
dc.format.extent | 1403797 bytes | - |
dc.format.extent | 7462397 bytes | - |
dc.format.extent | 6037452 bytes | - |
dc.format.extent | 5032050 bytes | - |
dc.format.extent | 760337 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2004.676 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | การุณยฆาต -- แง่ศาสนา -- พุทธศาสนา | - |
dc.subject | ความตาย -- แง่ศาสนา -- พุทธศาสนา | - |
dc.subject | พุทธศาสนาเถรวาท | - |
dc.subject | พุทธปรัชญา | - |
dc.subject | Euthanasia -- Religious aspects -- Buddhism | - |
dc.subject | Death -- Religious aspects -- Buddhism | - |
dc.subject | Theravada Buddhism | - |
dc.subject | Buddhist philosophy | - |
dc.title | การุณยฆาตและความตายในพุทธปรัชญาเถรวาท | en |
dc.title.alternative | Euthanasia and death in Theravada Buddhist philosophy | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | อักษรศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | ปรัชญา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2004.676 | - |
Appears in Collections: | Arts - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Vattakorn_ru_front.pdf | 1.98 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Vattakorn_ru_ch1.pdf | 1.37 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Vattakorn_ru_ch2.pdf | 7.29 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Vattakorn_ru_ch3.pdf | 5.9 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Vattakorn_ru_ch4.pdf | 4.91 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Vattakorn_ru_back.pdf | 742.52 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.