Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27060
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อรวรรณ ศิริรัตน์พิริยะ | - |
dc.contributor.author | วัลนิกา หมั่นเพียรสุข | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2012-11-30T02:26:51Z | - |
dc.date.available | 2012-11-30T02:26:51Z | - |
dc.date.issued | 2547 | - |
dc.identifier.isbn | 9745315451 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27060 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 | en |
dc.description.abstract | การลดต้นทุนการผลิตพืชเศรษฐกิจ เช่น ข้าว มีวิธีที่น่าจะได้รับความสนใจ คือการปลูกข้าวด้วยตอซังซึ่งเป็นเทคโนโลยีชาวบ้าน โดยเรียกต้นข้าวที่เกิดจากตอซังว่า “ลูกข้าว” รวมทั้งการใช้วัสดุเหลือใช้ทดแทนปุ๋ยเคมีเช่น เถ้าลอยลิกไนต์ซึ่งมีธาตุอาหารสำหรับต้นข้าว แต่อาจก่อปัญหาการสะสมธาตุพิษบางชนิดในดินหรือต้นข้าว ดังนั้นจึงมีการศึกษาทดลองเพื่อชี้ให้เห็นถึงปริมาณของธาตุอาหารและธาตุพิษบางชนิดที่สะสมอยู่ในดินและลูกข้าว เพื่อช่วยคาดการณ์ และวางแผนการทำนาของชาวนาได้ในฤดูปลูกถัดไป เพื่อเป็นแนวทางลดต้นทุนการผลิตข้าว โดยทำการศึกษาวิจัยในภาคสนามในแปลงนาของเกษตรกร ตำบลบ้านพริก อำเภอบ้านนา จังหวัดนครนายก ซึ่งเคยปลูกและเก็บเกี่ยวผลผลิตจากต้นข้าวรุ่นหลักของข้าวพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 ที่ปลูกด้วยวิธีปักดำ เติมเถ้าลอยลิกไนต์อัตราเติม 0.25, 0.5 และ 1.0 ตัน/ไร่ วางแผนการทดลองเป็นแบบ Randomized Complete Block Design ทำ 3 ซ้ำ (Replication) และเก็บตัวอย่างดิน 3 ระยะ คือ ดินขณะเกี่ยวลูกข้าวดินขณะเก็บรากลูกข้าว (ขณะไถกลบตอซัง) และดินหลังไถกลบตอซัง และส่วนลูกข้าวทำการวิเคราะห์ 4 ส่วนคือ เมล็ดข้าวเปลือก ฟาง ตอซัง และราก ผลการศึกษาพบว่าปริมาณธาตุอาหารที่ตกค้างในดินขณะเกี่ยวลูกข้าว ขณะเก็บรากลูกข้าวไถกลบตบซังลูกข้าว คือ ไนโตรเจน 0.22-0.32 % ซึ่งมีค่าต่ำกว่าปริมาณที่ต้นข้าวความต้องการ ในขณะที่ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ 19.00- 38.33 ppm และโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ 54.10-114.00 ppm ซึ่งเพียงพอต่อความต้องการของต้นข้าว ส่วนปริมาณธาตุพิษ ได้แก่ ปริมาณอาร์เซนิกทั้งหมด 140.00-228.67 ppb ปริมาณแคดเมียมทั้งหมด 0.22-0.79 ppb และนิกเกิลทั้งหมด 0.14-0.21 ppm ที่ตกค้างในดิน โดยธาตุทั้ง 3 ชนิดมีปริมาณต่ำกว่าระดับที่ก่อให้เกิดอันตราย แต่อลูมิเนียมทั้งหมดในดิน 17300.00-30780.00 ppm ซึ่งจัดว่ามีปริมาณสูงกว่ามาตรฐาน และ ค่าความเป็นกรดเป็นด่างในดินมีแนวโน้มเหมือนกันทั้ง 3 ระยะเวลาซึ่งยู่ในช่วง 4.29-5.45 จัดว่าเป็นกรดจัด- จัดมาก ส่วนปริมาณธาตุอาหารในลูกข้าวทั้ง 4 ส่วน คือ เมล็ดข้าวเปลิอก ฟาง ตอซัง และราก มีไนโตนเจนทั้งหมด 1.02-1.15,0.83-0.87, 0.67-0.81 และ 80.0.85 % ตามลำดับ และโพแทสเซียมทั้งหมด 337.33-340, 1523.33-1543.33, 387-436.33 และ243.33-296.87 ppm ตามลำดับ ส่วนธาตุพิษในลูกข้าวทั้ง 4 ส่วน มีอาร์เซนิค 2.45-197 ppb แคดเมียม 0.14-0.79 ppb และนิกเกิล ต่ำกว่า 0.2 ppm ซึ่งธาตุทั้ง 3 ชนิดต่ำกว่าเกณฑ์ที่ก่อให้เกิดพิษต่อข้าว แต่อลูมิเนียมในตอซัง และราก 2566.67-3370 และ 5020-5050 ppm ตามลำดับ ซึ่งอยู่ในระดับที่เป็นพิษต่อต้นข้าว | - |
dc.description.abstractalternative | The decreasing of outlay for rice planning. Rice Ratoon Croping is in tradition to produce rice that is the Wisdom Knowlage .They rice ratoon is grown with in tiller that is rice ratoon. In could the waste is used to substitute, for example, Utilization of lignite fly ash for agriculture applied for rice planning. But some toxic element is in compound of lignite fly ash. Then it is necessary to study in the macro element and some toxic element in soil and rice ratoon. That is the way to predict and planning for grow rice in next time. The suitable alternative to decreased of investment and safety. This study, therefore, focus on the effect of residual nutrient and some toxic element in soil and rice ratoon after applied lignite fly ash planting KDML 105 rice variety . Field experiment was continued to the experiment that, was carried out in paddy land (acid sulfate soil) at Nakonnayok Province by using randomized complete block design with 3 repilcations for lignite fly ash application rate 0.25 0.5 and 1.0 ton/rai. Plot size was 6x12 m.. The result showed that the macro element in soil at 3 period of time that soil in period of harvest, period of plough the ratoon tiller and period of after plough the ratoon tiller : Soil pH = 4.29-5.45 that was acid soil, Total- N = 0.22-0.32 % P₂O₅ = 19.00 – 38.33 ppm and K₂O = 54.00-114.00 ppm . And toxic element: Total-A; = 17300.00-30780.00 ppm that more than toxic level is soil. Total-As = 140.00-228.67 ppb Total-Cd = 0.22-0.79 ppb and Total-Ni = 0.14-0.21 ppm that was lower than toxic level is soil. And the macro element in rice ratoon, 4 part of rice ratoon that grain of Rice Ratoon, Rice Ratoon straw, Ratoon Tiller and Root of Rice Ratoon. :Total-N, P and K in the part of Rice Ratoon = grain of Rice Ratoon < Rice Ratoon straw < Ratoon Tiller < Root of Rice Ratoon. That was guide to management for prepare soil for next planting time. Then Ratoon straw, and Ratoon Tiller was ploughed to field that is the way to decrease investment for rice planting . And the toxic element in the part of rice ratoon that Total-Al is more over than toxic level in plants. | - |
dc.format.extent | 3049109 bytes | - |
dc.format.extent | 1370431 bytes | - |
dc.format.extent | 7655323 bytes | - |
dc.format.extent | 1638652 bytes | - |
dc.format.extent | 13724812 bytes | - |
dc.format.extent | 7075469 bytes | - |
dc.format.extent | 1213578 bytes | - |
dc.format.extent | 4149250 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | ธาตุอาหารพืช | - |
dc.subject | มลพิษในดิน | - |
dc.subject | สารพิษตกค้างทางเกษตรกรรม | - |
dc.subject | Soil pollution | - |
dc.subject | Spraying and dusting residues in agriculture | - |
dc.title | ธาตุอาหารและธาตุพิษบางชนิดที่ตกค้างในดินและลูกข้าวภายหลังการเติมเถ้าลอยลิกไนต์ในการปลูกข้าวพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 | en |
dc.title.alternative | Residual nutrients and toxic elements in soil and ratoon rice after applied lighite fly ash to main crop KDML 105 rice variety | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิทยาศาสตร์สภาวะแวดล้อม (สหสาขาวิชา) | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Walnika_mu_front.pdf | 2.98 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Walnika_mu_ch1.pdf | 1.34 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Walnika_mu_ch2.pdf | 7.48 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Walnika_mu_ch3.pdf | 1.6 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Walnika_mu_ch4.pdf | 13.4 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Walnika_mu_ch5.pdf | 6.91 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Walnika_mu_ch6.pdf | 1.19 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Walnika_mu_back.pdf | 4.05 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.