Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27228
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมศรี อรณินท์
dc.contributor.advisorประสิทธิ์ ประพิณมงคลการ
dc.contributor.authorวีรวัฒน์ เทพสุนทร
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2012-11-30T07:46:10Z
dc.date.available2012-11-30T07:46:10Z
dc.date.issued2527
dc.identifier.isbn9745631655
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27228
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527en
dc.description.abstractดินเค็มในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย เกิดจากหินที่มีเกลือบริเวณที่สูงกว่า เมื่อหินสลายตัวเกลือจะละลายออกมาลงสู่พื้นที่ที่ต่ำกว่า ในฤดูฝนเกลือจะถูกชะล้างไปสะสมที่ชั้นล่างของดินในฤดูแล้งเกลือจะระเหยขึ้นมากับน้ำสะสมอยู่ในดินชั้นบน ซึ่งมีผลกระทบต่อผลผลิตทางด้านการเกษตรอีกด้วย ดังนั้นจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งในการสำรวจพื้นที่ดินเค็มเพื่อที่จะหาทางป้องกันการแพร่กระจายดินเค็มและปรับปรุงดินที่เค็มให้ใช้ประโยชน์ได้ การจำแนกดินเค็มด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ สำหรับการศึกษานี้ได้เลือกการทดลองจำแนกภาพแบบ Maximum likelihood ใช้ภาพจ่ายดาวเทียมหมายเลข THAILAND ID 4-5 ประกอบด้วยพื้นที่บางส่วนของ 2 จังหวัด คือ จังหวัดนครราชสีมาและจังหวัดชัยภูมิ ได้กำหนดพื้นที่สำรวจและวิเคราะห์ดินเค็มในภาคสนามขนาด 5 x 5 ตารางกิโลเมตร บริเวณอำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา ผลการสำรวจภาคสนามปรากฎว่าระหว่างค่า ECe และ ECa มีสัมประสิทธิ์ของสหสัมพันธ์ (Coefficient of Correlation, r)เท่ากับ 0.93 สำหรับดินประเภทดินทรายและ r เท่ากับ 0.92 สำหรับดินประเภทดินเหนียว จากการวิเคราะห์ข้อมูลดาวเทียมสำรวจทรัพยากรเพื่อจำแนกดินเค็มในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยใช้แบนด์ 5 และ แบนด์ 7 สามารถจำแนกข้อมูลเป็น 6 ประเภทได้คือ 1) ดินเค็มจัด, 2) ดินเค็มปานกลาง, 3) ดินเค็มน้อย, 4) ดินไม่เค็ม, 5) แหล่งน้ำ, 6) อื่น ๆ ผลการจำแนกภาพพื้นที่ 2,502.68 ตารางกิโลเมตร พบว่าเป็นพื้นที่ดินเค็ม 1,557.60 ตารางกิโลเมตร หรือเท่ากับ 62% เป็นพื้นที่ดินไม่เค็มประมาณ 854.72 ตารางกิโลเมตร หรือเท่ากับ 34% พื้นที่ดินเค็มประกอบด้วยดินเค็มจัด 207.48 ตารางกิโลเมตร ดินเค็มปานกลาง 545.02 ตารางกิโลเมตร และดินเค็มน้อย 805.10 กิโลเมตร จากการตรวจสอบความแม่นยำในการจำแนกดินเค็มโดยใช้เทปข้อมูลดาวเทียม โดยเปรียบเทียบกับผลการสำรวจในภาคสนามซึ่งคัดเลือกพื้นที่ไว้จำนวน 3 แห่ง ที่มีพื้นที่ 25, 36 และ 30 ตารางกิโลเมตร ตามลำดับ ปรากฎว่าพื้นที่ดินเค็มในระดับต่าง ๆ ที่ได้จากการสำรวจทางภาคสนามสอดคล้องกับผลของการจำแนกด้วยเทปข้อมูลดาวเทียมประมาณ 82 ตารางกิโลเมตรจากพื้นที่ทดสอบทั้งหมด 91 ตารางกิโลเมตร หรือคิดเป็นความถูกต้องประมาณ 90% และมีความผิดพลาดประมาณ 10%
dc.description.abstractalternativeSaline soils in the Northeast region of Thailand derived from saline the rock deposited in the elevated area. Salt is released during the weathering process and [accumulate] in the law lying area through seepage. During the wet season the salt is washed off to accumulate underground and in the dry season salt will evaporate together with water to be accumulated on the ground surface affecting degradation and loss of agricultural production. The survey of the extent areas and degree of salt affected areas, therefore, an initial stage of assessment for salinity prevention and control. In this study computer classification of saline area was done using Maximum likelihood ratio technique. The Landsat imagery frame ID. No. 4-5 covering some area of Khorat and Chaiyaphom province, was selected. An area of 5 x 5 km2 covering Amper Muang, Korat province was designated for field survey and analysis of the extent and degree of soil salinity. The result revealed that correlation coefficient (r) between ECe and ECa is r = 0.93 for sandy soil and 0.92 for clay. Band 5 and 7 were used for classification and 6 classes were classified for the land salinization i.e; 1) heavily salt-affected lowland, 2) moderately salt-affected lowland, 3) Slightly salt-affected lowland, 4) non saline, 5) water and 6) other. The classification results in an area of 2502.68 km2, showed that the saline area was 1557.60 km2 or 62 % and non-saline area was 854.72 km2 or 34 %. The area of saline soils consists of 207.48 km2 of heavily salt affected lowland, 545.02 km2 of moderately salt-affected lowland and 805.10 km2 of slightly salt-affected lowland. Ground survey was carried out to test the degree of accuracy of soil salinity landsat data classification. Therefore sited were selected covering an area of 25, 36 and 30 km2 , respectively. From the total area of 91 km2 checked, 82 km2 mapped by landsat data agree with that of ground survey corresponding as 90 percent correct and as 10 percent error.
dc.format.extent2515969 bytes
dc.format.extent1430145 bytes
dc.format.extent1301221 bytes
dc.format.extent2258398 bytes
dc.format.extent9679613 bytes
dc.format.extent9235463 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้คอมพิวเตอร์ วิเคราะห์ข้อมูลดาวเทียมสำรวจทรัพยากรเพื่อจำแนกความเค็มของดิน ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ของประเทศไทยen
dc.title.alternativeFeasibility study of computer analysis of landsat data for classifying soil salinity in the Northeast of Thailanden
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้าes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Veerawat_th_front.pdf2.46 MBAdobe PDFView/Open
Veerawat_th_ch1.pdf1.4 MBAdobe PDFView/Open
Veerawat_th_ch2.pdf1.27 MBAdobe PDFView/Open
Veerawat_th_ch3.pdf2.21 MBAdobe PDFView/Open
Veerawat_th_ch4.pdf9.45 MBAdobe PDFView/Open
Veerawat_th_back.pdf9.02 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.