Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27271
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุทัศน์ รัตนเกื้อกังวาน | - |
dc.contributor.author | ธนพัฒน์ ฉันทสุวรรณกุล | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2012-11-30T09:06:25Z | - |
dc.date.available | 2012-11-30T09:06:25Z | - |
dc.date.issued | 2554 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27271 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554 | en |
dc.description.abstract | สร้างระบบต้นทุนฐานกิจกรรมและระบบต้นทุนฐานกิจกรรมเกณฑ์เวลาของโรงงานผลิตชิ้นส่วนอะไหล่รถยนต์ และเปรียบเทียบความแตกต่างในการดำเนินงาน รวมไปถึงหาข้อจำกัด ความเหมาะสมของทั้งสองระบบ ในการสร้างระบบต้นทุนฐานกิจกรรม เริ่มจากการเก็บรวบรวมข้อมูลกิจกรรมของแผนกต่างๆ มาทำการวิเคราะห์ แล้วกำหนดตัวผลักดันต้นทุนของแต่ละกิจกรรม ทำการบันทึกงานที่ได้ และคำนวณหาอัตราของตัวผลักดันต้นทุน จากนั้นทำการปันต้นทุนของหน่วยงานสนับสนุนทั้งหมดลงสู่แต่ละกระบวนการ ทำการคำนวณต้นทุนกระบวนการ และต้นทุนต่อหน่วยผลิตภัณฑ์ ในการสร้างระบบต้นทุนฐานกิจกรรมเกณฑ์เวลา เริ่มจากการวิเคราะห์กิจกรรมของแผนกต่างๆ ที่เก็บรวบรวมข้อมูลไว้ แล้วทำการหาเวลามาตรฐานในการทำงานโดยใช้การจับเวลา ทำการคำนวณหาอัตราต้นทุนกำลังการผลิต จากนั้นสร้างสมการเวลาและกำหนดตัวผลักดันเวลาของหน่วยงานสนับสนุนและหน่วยงานผลิต ทำการคำนวณต้นทุนต่อหน่วยผลิตภัณฑ์ แล้วเปรียบเทียบต้นทุนต่อหน่วยผลิตภัณฑ์ของทั้งสองระบบ ผลการวิจัยที่ได้ พบว่าต้นทุนต่อหน่วยผลิตภัณฑ์ที่คำนวณได้จากสองระบบมีค่าแตกต่างกัน เช่น Part Number 15ASDN003-000 คำนวณต้นทุนต่อหน่วยผลิตภัณฑ์โดยใช้ระบบต้นทุนฐานกิจกรรม และระบบต้นทุนฐานกิจกรรมเกณฑ์เวลา คือ 352.33 และ 318.97 บาท ตามลำดับ ซึ่งต้นทุนต่อหน่วยผลิตภัณฑ์ของระบบต้นทุนฐานกิจกรรมเกิดจากการปันส่วนต้นทุนทั้งหมด ในทางตรงกันข้าม ต้นทุนต่อหน่วยผลิตภัณฑ์ของระบบต้นทุนฐานกิจกรรมเกณฑ์เวลา เกิดจากการปันส่วนต้นทุนเฉพาะต้นทุนที่ใช้จริง จึงทำให้เกิดต้นทุนสูญเปล่าขึ้น โดยต้นทุนสูญเปล่านั้นเป็นตัวชี้วัดในการทบทวนการดำเนินการเพื่อใช้ตัดสินใจว่า จะลดต้นทุนของการจัดหาทรัพยากร หรือลดกำลังการผลิตที่ไม่ได้ใช้งาน หรือจะนำไปปรับปรุงกระบวนการให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด | en |
dc.description.abstractalternative | To establish an activity-based costing system and time-driven activity-based costing system for the use of automotive spare part industry and compare to the difference of execution, constraints and suitability for these systems. In order to construct activity-based costing system, the initial process will be collecting data from each department and analyzing them, then specify cost driver of each activity and calculate cost driver rate. Next, allocate cost from service unit into each process then compute process cost and unit cost. As for constructing of the time-driven activity-based costing system, the process will start with analyzing the data of the each department that have been stored then find the standard time and calculate capacity cost rate. Therefore, formulate the time equation and define time driver. As a result, unit cost acquired from two different methods has altered. For example, part number 15ASDN003-000 in which unit cost from activity-based costing system and time-driven activity-based costing system are 352.33 baht and 318.97 baht, respectively. It can be observed that unit cost by using activity-based costing system is allocated from total cost. In other words, unit cost by using time-driven activity-based costing occurred from used capacity only. Hence, the different gap is unused capacity as the key performance index to revise the decision of decreasing resource supplying, unused production power or shall be used to maximize the production efficiency. | en |
dc.format.extent | 5234204 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1946 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | ต้นทุนการผลิต | en |
dc.subject | การควบคุมต้นทุนการผลิต | en |
dc.subject | การบัญชีต้นทุนกิจกรรม | en |
dc.subject | อุตสาหกรรมชิ้นส่วนรถยนต์ | en |
dc.subject | Cost | en |
dc.subject | Cost control | en |
dc.subject | Activity-based costing | en |
dc.subject | Automobile supplies industry | en |
dc.title | การเปรียบเทียบระบบต้นทุนฐานกิจกรรมและระบบต้นทุนฐานกิจกรรมเกณฑ์เวลา ในโรงงานผลิตชิ้นส่วนอะไหล่รถยนต์ | en |
dc.title.alternative | Comparison of activity-based costing system and time-driven activity-based costing system in automotive spare part factory | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมอุตสาหการ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Suthas.R@Chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2011.1946 | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
thanapat_ch.pdf | 5.11 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.