Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27273
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสรชัย พิศาลบุตร
dc.contributor.authorสุทธิ คุณวัฒนานนท์
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2012-11-30T09:17:37Z
dc.date.available2012-11-30T09:17:37Z
dc.date.issued2528
dc.identifier.isbn9745647616
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27273
dc.descriptionพิมพ์ดีด (ถ่ายสำเนา) วิทยานิพนธ์ (สต.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2528en
dc.description.abstractการศึกษาระดับอุดมศึกษาเป็นการศึกษาวิชาการขั้นสูง ซึ่งเป็นพื้นฐานไปสู่วิชาชีพต่างๆ จึงนับว่ามีความสำคัญต่อการกำหนดอนาคตของผู้เรียนเป็นอันมาก ในระยะเวลาที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน ด้วยภาวะจำกัดหลายประการ สถาบันอุดมศึกษาของรัฐในสังกัดทบวงมหาวิทยาลัย ซึ่งได้แก่ มหาวิทยาลัยและสถาบันต่างๆ ไม่สามารถรับผู้สมัครเข้าศึกษาได้หมดจึงจำเป็นต้องมีการสอบแข่งขัน เพื่อคัดเลือกผู้สมัครที่มีความรู้ ความสามารถ และสติปัญญา ค่อนข้างสูงเพียงจำนวนหนึ่งเท่านั้น การวิจัยนี้ได้ทำการหาคะแนนต่ำสุด คะแนนสูงสุด ของแต่ละวิชาของแต่ละคณะหรือประเภทวิชา จากผลการสอบคัดเลือกปีการศึกษา 2525 และศึกษาหาแบบทดสอบที่เหมาะสมของวิชาต่างๆ จากข้อสอบที่เคยใช้สอบคัดเลือก สำหรับให้ผู้สมัครสอบได้ทดสอบระดับความรู้ความสามารถของตนเอง จากการวิจัยปรากฎว่า คะแนนต่ำสุด คะแนนสูงสุด แต่ละรายวิชาของผู้ที่สอบคัดเลือกได้ปีการศึกษา 2525 สรุปได้ดังนี้ วิชาคณิตศาสตร์ กข. คะแนนต่ำสุด 8 คะแนน คะแนนสูงสุด 99 คะแนน วิชาฟิสิกส์ คะแนนต่ำสุด 8 คะแนนคะแนนสูงสุด 98 คะแนน วิชาเคมี คะแนนต่ำสุด 21 คะแนนคะแนนสูงสุด 92 คะแนน วิชาชีววิทยา คะแนนต่ำสุด 11 คะแนนคะแนนสูงสุด 97 คะแนน วิชาภาษาอังกฤษ กข. คะแนนต่ำสุด 6 คะแนนคะแนนสูงสุด 94 คะแนน สำหรับแบบทดสอบที่สร้างขึ้น 10 ชุด แบ่งเป็นวิชาคณิตศาสตร์ 2 ชุดๆ ละ 50 ข้อ วิชาฟิสิกส์ 2 ชุดๆ ละ 33 ข้อ วิชาเคมี 2 ชุดๆ ละ 100 ข้อ วิชาชีววิทยา 2 ชุดๆ ละ 100 ข้อ และวิชาภาษาอังกฤษ 2 ชุดๆ ละ 100 ข้อ แบบทดสอบทั้ง 10 ชุด มีดัชนีความง่ายโดยเฉลี่ยไม่แตกต่างจากดัชนีความง่ายเฉลี่ยของข้อสอบคัดเลือกปีการศึกษา 2526 และ 2527 ดังได้แสดงไว้ในภาคผนวกตั้งแต่หน้า 69 ถึงหน้า 236 วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ จึงเป็นประโยชน์แก่วงการศึกษา โดยเฉพาะผู้ที่จะสมัครสอบคัดเลือกครูแนะแนวของโรงเรียนมัธยมศึกษา ตลอดจนเป็นประโยชน์แก่ทบวงมหาวิทยาลัยที่จะได้รับผู้ที่มีความรู้ ความสามารถที่ดี และเหมาะสมกับคณะหรือประเภทวิชานั้นๆ
dc.description.abstractalternativeUndergraduate education is the high level of studying which is the basic knowledge leading to professional occupations and it is very important for students’ future. Since the past up to present, there are lots of limitations which make the public universities not be able to accept every applicant. By this reason, it is necessary to have the entrance examination to select only the limit group of capable students. The researcher finds the lowest mark of each subject, each faculty or each group of subjects from the 1982 entrance examination and constructs the tests of each subject from the old entrance examination so that students can practice those tests. In the research, the lowest and highest mark of each subject from the 1982 entrance examination is .as follow: Mathematics: the lowest mark : 8 the highest mark : 99 Physics the lowest mark : 8 the highest mark : 98 Chemistry: the lowest mark : 21 the highest mark : 92 Biology: the lowest mark : 11 the highest mark : 97 English the lowest mark : 6 the highest mark : 94 There are 10 sets of designed tests, divided into: 2 sets of Mathematics; 50 questions for each, 2 sets of physics; 33 questions for each, 2 sets of Chemistry; 100 questions for each, 2 sets of Biology; 100 questions for each, 2 sets of English AB, 100 questions for each. All the 10 sets of designed tests has the average “Easiness Index” undifferently from the one of the presents entrance examination. This is shown in the chart on page 69-236. This thesis is useful in the area of education, especially for the students who would like to pass the entrance examination and for the high school advisors as well. Besides, it is useful for the Ministry of University Affairs which can accept the capable students suitable for each faculty.
dc.format.extent405397 bytes
dc.format.extent619619 bytes
dc.format.extent478552 bytes
dc.format.extent924271 bytes
dc.format.extent302325 bytes
dc.format.extent3845927 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการคาดคะเนคะแนนและคณะที่ควรจะสอบได้ในการสอบคัดเลือกเข้าศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ : ศึกษาเฉพาะวิชาฟิสิกส์ เคมี ชีวิวิทยา คณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษen
dc.title.alternativeThe estimation of marks and faculties in the joint, higher education entrace examination : a case study on physics, chemistry, biology, mathematics and Englishen
dc.typeThesises
dc.degree.nameสถิติศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineสถิติes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sutthi_Ku_front.pdf395.9 kBAdobe PDFView/Open
Sutthi_Ku_ch1.pdf605.1 kBAdobe PDFView/Open
Sutthi_Ku_ch2.pdf467.34 kBAdobe PDFView/Open
Sutthi_Ku_ch3.pdf902.61 kBAdobe PDFView/Open
Sutthi_Ku_ch4.pdf295.24 kBAdobe PDFView/Open
Sutthi_Ku_back.pdf3.76 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.