Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27337
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสวัสดิ์ ประทุมราช
dc.contributor.authorเสรี ชัดแช้ม
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2012-12-06T03:43:46Z
dc.date.available2012-12-06T03:43:46Z
dc.date.issued2524
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27337
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2524en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาการใช้แบบสอบย่อยประเภทที่แตกต่างกันและระดับความสามารถทางการเรียนที่แตกต่างกันจะมีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เพียงใด เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสอบย่อย และแบบสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ 102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ซึ่งเป็นแบบสอบแบบเลือกตอบที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น กลุ่มตัวย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ของโรงเรียนภัทรญาณวิทยา จังหวัดนครปฐม โดยแบ่งเป็น 5 กลุ่ม จำนวน 200 คน เป็นนักเรียนชาย 119 คน นักเรียนหญิง 81 คน การวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ใช้วิธีวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวและความแปรปรวนสองทาง และเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยรายคู่โดยวิธีการของดันแคน ผลการวิจัยปรากฏว่า 1. นักเรียนที่ใช้แบบสอบย่อยแบบคำตอบสั้นแล้วเฉลยคำตอบ และแบบคำตอบสั้น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์สูงกว่านักเรียนที่ไม่ได้ใช้แบบสอบย่อย 2. นักเรียนที่ใช้แบบสอบย่อยแบบคำตอบสั้นมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์สูงกว่านักเรียนที่ใช้แบบสอบย่อยแบบเลือกตอบ 3. ปฏิกิริยาร่วมกันระหว่างระดับความสามารถทางการเรียนและประเภทของแบบสอบย่อยที่ต่างกัน ไม่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this were to study the effects of the different types of formative tests on mathematics achievement of Mathayom Suksa One Students, with different in ability levels. The instruments were formative and summative mathematic achievement test for Mathayom Suksa One constructed by the researcher. The subjects were 200 Mathayom Suksa One with 119 boys, 81 girls of Patarayanwithaya School in Nakorn Pathom. The subjects were divided into five groups. The data were analysed by two way analysis of variance and one way analysis of variance techniques. The differences between each pair were tested by Duncan’s New Multiple Range Test. The results were as follow:- 1. The student who were treated by the formative short answer test with feedback and short answer test were better than the control group. 2. The students who took the formative short answer test were better than those who took formative multiple choice test. 3. The interaction effect of ability level and different types of formative tests was not found.
dc.format.extent408519 bytes
dc.format.extent484402 bytes
dc.format.extent836784 bytes
dc.format.extent620141 bytes
dc.format.extent501885 bytes
dc.format.extent472024 bytes
dc.format.extent732307 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleผลของประเภทแบบสอบย่อยที่แตกต่างกัน ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1en
dc.title.alternativeThe effectes of different types of formative tests on mathematics achievement of mathayom suksa one studentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิจัยการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Seree_Ch_front.pdf398.94 kBAdobe PDFView/Open
Seree_Ch_ch1.pdf473.05 kBAdobe PDFView/Open
Seree_Ch_ch2.pdf817.17 kBAdobe PDFView/Open
Seree_Ch_ch3.pdf605.61 kBAdobe PDFView/Open
Seree_Ch_ch4.pdf490.12 kBAdobe PDFView/Open
Seree_Ch_ch5.pdf460.96 kBAdobe PDFView/Open
Seree_Ch_back.pdf715.14 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.