Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27428
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สำเภา วนางกูร | |
dc.contributor.author | กวินทร์ ธาดากิจวรคุณ | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | |
dc.date.accessioned | 2012-12-10T07:38:51Z | |
dc.date.available | 2012-12-10T07:38:51Z | |
dc.date.issued | 2522 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27428 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2522 | en |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพบทเรียนแบบโปรแกรมสื่อผสมวิชาวิทยาศาสตร์เรื่องไฟฟ้าในบ้านสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่สาม ตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 2. เพื่อศึกษาว่าเมื่อนักเรียน เรียนบทเรียนแบบโปรแกรมสื่อผสมวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องไฟฟ้าในบ้านสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่สามแล้วมีความรู้เพิ่มขึ้นหรือไม่ วิธีการดำเนินการวิจัย 1. ศึกษาและสร้างโปรแกรมสื่อผสมวิชาวิทยาศาสตร์เรื่อง “ไฟฟ้าในบ้าน” 2. สร้างแบบทดสอบเพื่อใช้ทดสอบความรู้เกี่ยวกับเนื้อหาในบทเรียนก่อนและหลังเรียนบทเรียนแบบโปรแกรมสื่อผสม 3. นำบทเรียนแบบโปรแกรมสื่อผสมที่สร้างขึ้นไปหาประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 โดยทำการทดลองดังนี้ ทดลองใช้บทเรียนแบบโปรแกรมสื่อผสมกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 43 คน การทดลองตามลำดับชั้น 3.1 ทดลองชั้น 1 ต่อ 1 กับนักเรียนโรงเรียนวัดเขมาภิรตาราม 3 คน 3.2 ทดลองชั้นกลุ่มเล็กกับนักเรียนโรงเรียนวิมุตยราม จำนวน 10 คน 3.3 ทดลองภาคสนามกับนักเรียนโรงเรียนดอนเมือง (อากาศบำรุง) จำนวน 30 คน 4. วิเคราะห์ผลการทดลอง การวิจัยครั้งนี้ผู้ทำการวิจัยได้สร้างบทเรียนแบบโปรแกรมสื่อผสมวิชาวิทยาศาสตร์เรื่อง “ไฟฟ้าในบ้าน” สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 แล้วทดสอบหาประสิทธิภาพว่า บทเรียนแบบโปรแกรมสื่อผสมนี้จะช่วยส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้หรือไม่ ดังนั้นผู้ทำการวิจัยจึงได้คัดเลือกบทเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องไฟฟ้าในบ้านมาสร้างเป็นโปรแกรมสื่อผสม เมื่อสร้างเสร็จแล้วนำมาทดสอบ 3 ขั้น การทดสอบครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 เป็นการทดสอบเพื่อแก้ไขให้ถูกต้อง ต่อจากนั้นจึงนำมาทดสอบ เพื่อหาประสิทธิภาพกับตัวอย่างประชากรจริง ในการวิจัยครั้งนี้ได้ตั้งเกณฑ์มาตรฐานไว้ 90/90 ผลการวิจัย ประสิทธิภาพของบทเรียนแบบโปรแกรมสื่อผสมวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง”ไฟฟ้าในบ้าน” ที่สร้างขึ้นเป็น 95.70/41.58 มีประสิทธิภาพสูงกว่ามาตรฐานดังนั้นจึงกล่าวได้ว่า บทเรียนที่สร้างขึ้นนี้สามารถนำไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ข้อเสนอแนะ เนื่องจากบทเรียนแบบโปรแกรมสื่อผสมสามารถใช้สอนได้อย่างมีประสิทธิภาพจึงสมควรที่จะมีการสร้างบทเรียนแบบโปรแกรมสื่อผสมเรื่องต่อไป และวิชาอื่นๆ ให้มากยิ่งขึ้น | |
dc.description.abstractalternative | Purposes: 1. To produce and verify the efficiency of a Multi-media Programmed Lesson in Science on “Household Electricity” for Matayom Suksa Three according to the 90/90 standard 2. To assess the student’s learning through the process of a Multi-media Programmed lesson in science on “Household Electricity” for Matayom Suksa Three Procedures: 1. Studied and constructed the Multi-media Programmed lesson in science on “Household Electricity” 2. Constructed the pre-and post-test in order to assess the student’s contests. 3. Validated the effectiveness of Multi-media Programmed according to the 90/90 standard. The samples populations used in the study were forty-three students of Matayom Suksa three. The Three steps in experimenting are 3.1 One to one testing with three students of Wat Kemapirataram School. 3.2 Small group testing with 10 students of Vimutayaram School. 3.3 Field testing with 30 students of Don Muang (Akat Bamrung) School. 4. Experimental Result Analysis. To work on this research, Mulit-media Programmed on Science “Household Electicity” is built up for Matayom Suksa Three. Then it will be proved that it is one of effective learning aids by three experiments. The first two experiments will be carried out just to ensure of the programme correctness. Afterwards, the expected complete programme will be experimented with the real population to work out its effectiveness. The criterion of this research was set up for the 90/90 standard. Result: The effectiveness of the constructed Multi-media Programmed on Science “Household Electricity” obtained by the result was 95.71/91.58. Then it could be concludes that this Multi-media Programmed could be used effectively. Recommendation: Since Multi-media Programmed was proved to be effective, it should be encourage to be constructed Multi-media Programmed in other topics and other subject more often. | |
dc.format.extent | 355951 bytes | |
dc.format.extent | 514355 bytes | |
dc.format.extent | 594052 bytes | |
dc.format.extent | 325659 bytes | |
dc.format.extent | 271955 bytes | |
dc.format.extent | 269626 bytes | |
dc.format.extent | 1160229 bytes | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | การสร้างบทเรียนแบบโปรแกรมสื่อผสมวิชาวิทยาศาสตร์เรื่อง "ไฟฟ้าในบ้าน" สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่สาม | en |
dc.title.alternative | Construction of a multi-media programmed lesson in science on household electricity from mathayom suksa three | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | โสตทัศนศึกษา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
K-win_Ta_front.pdf | 347.61 kB | Adobe PDF | View/Open | |
K-win_Ta_ch1.pdf | 502.3 kB | Adobe PDF | View/Open | |
K-win_Ta_ch2.pdf | 580.13 kB | Adobe PDF | View/Open | |
K-win_Ta_ch3.pdf | 318.03 kB | Adobe PDF | View/Open | |
K-win_Ta_ch4.pdf | 265.58 kB | Adobe PDF | View/Open | |
K-win_Ta_ch5.pdf | 263.31 kB | Adobe PDF | View/Open | |
K-win_Ta_back.pdf | 1.13 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.