Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2751
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorชลดา เรืองรักษ์ลิขิต-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาภาษาไทย-
dc.date.accessioned2006-09-23T04:38:58Z-
dc.date.available2006-09-23T04:38:58Z-
dc.date.issued2527-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2751-
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องนี้เป็นการศึกษาวิเคราะห์อักขรวิธีและการใช้ภาษาของฮิวเมอริสต์จากข้อมูลเท่าที่พบได้ในเวลานี้ รายงานผลการวิจัยแบ่งออกเป็น 5 บท บทที่หนึ่งเป็นบทนำ บทที่สองกล่าวถึงประวัติของฮิวเมอริสต์ตลอดจนนามปากกาและผลงานของเขา บทที่สามเป็นเรื่องอักขรวิธีของฮิวเมอริสต์ บทที่สี่กล่าวถึงการใช้ภาษา และบทที่ห้าเป็นบทสรุป ผลการวิจัยสรุปได้ว่าฮิวเมอริสต์มีอักขรวิธีและการใช้ภาษาทั้งในด้านที่เหมือนและแตกต่างไปจากผู้อื่น ลักษณะที่แตกต่างจากผู้อื่นนับเป็นลักษณะเด่นของภาษาฮิวเมอริสต์ทำให้เกิดภาษาที่เป็นแบบเฉพาะของฮิวเมอริสต์เอง กลวิธีการเขียนและการใช้ภาษาทำให้ภาษาของเขาน่าอ่าน ให้ความสนุกสนานเพลิดเพลินและให้อารมณ์ขัน และในบางครั้งยังมีเนื้อหาที่ให้ความรู้เป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านอีกด้วย นอกจากนี้ ฮิวเมอริสต์ได้เสนอแนะอักขรวิธีและการใช้ภาษาบางประการเพื่อให้นักภาษานำไปพิจารณา นับว่าเป็นการช่วยให้อักขรวิธีและการใช้ภาษาของไทยคลี่คลายขยายตัวมากกว่าเดิม การศึกษาครั้งนี้สะท้อนให้เห็นชัดว่าฮิวเมอริสต์มีความรอบรู้เรื่องภาษาไทยเป็นอย่างดียิ่งในเรื่องคำ สำนวน และการใช้ภาษาในรูปแบบต่างๆ นอกจากนี้ยังแสดงให้เห็นอย่างแจ่มแจ้งว่าฮิวเมอริสต์มีความตั้งใจมั่นในอันที่จะอนุรักษ์ภาษาไทยให้มีความถูกต้องสมบูรณ์ และสร้างสรรค์ความเจริญให้แก่ภาษาไทย นับเป็นแบบอย่างของผู้ที่สามารถใช้ภาษาไทยได้อย่างมีศิลปะen
dc.description.abstractalternativeThis research is an analytical study of orthography and language usage of Humourist, a well-known writer of comic story, from most data which can be found. The research is divided into 5 chapters. The first chapter is an introduction stating the scope and the purpose of the research project. The second one is the story of Humourist's life, pseudonyms and work. The third is the analysis of orthography. The fourth chapter shows his language usage. And the last chapter is the conclusion. It can be concluded that his usage and orthography are both alike and different from other writers. The differential is the outstanding characteristic which forms his own typical language. His usage and style make his work readable, enjoyable and humourous. Besides, his work gives useful subject-matter to his readers. He also increases some topics about usage and orthography to the consideration of linguists. This study reflects his good knowledge of words, idioms and various forms of usage. His writing shows his intention toconserve the correctness in Thai usage and to develop Thai language. Thus, he is considered a good example of Thai language user with literary arts.en
dc.description.sponsorshipทุนอุดหนุนเพื่อเพิ่มพูนและพัฒนาประสิทธิภาพทางวิชาการen
dc.format.extent93583748 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectอบ ไชยวสุen
dc.subjectฮิวเมอร์ริสต์en
dc.subjectภาษาไทย--การใช้ภาษาen
dc.titleอักขรวิธีและการใช้ภาษาของฮิวเมอรริสต์ : รายงานผลการวิจัยen
dc.typeTechnical Reporten
dc.email.authorCholada.R@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Arts - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chollada(humo).pdf47.77 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.