Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27524
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธงทิศ ฉายากุล-
dc.contributor.authorหทยา ยงบุญธนภัทร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-12-11T10:41:02Z-
dc.date.available2012-12-11T10:41:02Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27524-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en
dc.description.abstractภาพซาร์ (SAR-Synthetic Aperture Radar) เป็นภาพถ่ายความละเอียดสูง สามารถถ่ายภาพในบริเวณพื้นที่กว้างของภูมิประเทศ และยังสามารถทำงานได้ภายใต้สภาพอากาศที่มีเมฆปกคลุมไม่ว่าจะเป็นกลางวันหรือกลางคืน จากความสามารถดังกล่าว จึงมีการสนับสนุนให้ใช้ประโยชน์จากภาพซาร์มากขึ้น แต่เนื่องจากภาพที่ได้เป็นภาพสะท้อนพลังงานซึ่งต่างจากภาพในช่วงแสงที่มองเห็นได้ (Visible light) การตีความภาพอาจเป็นปัญหา จึงจำเป็นจะต้องใช้งานร่วมกับข้อมูลภาพชนิดอื่น เช่น ภาพ QuickBird ที่เป็นภาพถ่ายระบบออปติคัล (Optical) เพื่อการวิเคราะห์ที่ดีขึ้น ในงานวิจัยนี้จึงได้เสนอแนวทางในการกำหนดพิกัด (Registration) ภาพถ่ายซาร์ ความละเอียดสูง TerraSAR-X กับภาพดาวเทียมระบบออปติคัล QuickBird เข้าด้วยกัน โดยใช้วิธีการจับคู่ภาพ หรือ Feature matching เพื่อการกำหนดพิกัดภาพ (Registration) โดยทั้งนี้ได้ดำเนินการกำหนดพิกัดภาพ (Registration) โดยอาศัยกระบวนการจับคู่ภาพด้วยวิธีการจับคู่รูปแบบ หรือ Template matching ผลการศึกษาพบว่าการใช้วิธีการจับคู่ภาพ (Feature matching) ด้วยหลักการของการจับคู่รูปแบบ หรือ Template matching เข้ามาช่วยประมวลผลกับวัตถุภาพที่ได้จากภาพ TerraSAR-X และภาพ QuickBird ที่ผ่านกระบวนการตรวจหาขอบวัตถุภาพ (Feature detection) และการคัดแยกวัตถุ ภาพ (Feature extraction) ทั้งหมด 15 วัตถุภาพ โดยผลค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของวัตถุภาพ (Correlation coefficient) ที่แสดงให้เห็นว่าความถูกต้องเชิงเรขาคณิตของวัตถุภาพที่ใช้ในการจับคู่ภาพทั้งหมด 15 วัตถุภาพ ผ่านเกณฑ์การประเมินทั้งสิ้น 12 วัตถุภาพ ซึ่งค่าเฉลี่ยของค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (Correlation coefficient) ที่ได้จากวัตถุภาพที่ผ่านเกณฑ์มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 0.639 และมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (Correlation coefficient) สูงสุด และต่ำสุดเท่ากับ 0.781 และ 0.508 ตามลำดับen
dc.description.abstractalternativeSAR (Synthetic aperture radar) is a kind of modern technique used to take high-resolution images of wide areas. It can also be used under cloudy weather condition whether it's day or night. With its ability, it is likely that more people tend to use SAR. However, the images produced by SAR are radiation image, so this may cause a problem in image interpretation. Because of that, SAR needs to be used with other kinds of images received from other techniques such as quick bird images in order to have a better analysis of images. In this research, a processing chain to register SAR high resolution images, TerraSAR-X with optical images by using feature matching method in the principle of Template Matching for registration is proposed. From the research, it is found out that using the template matching technique plays a big part in processing 15 features from TerraSAR-X and QuickBird images which have been feature detected and extracted. The average correlation coefficient which shows geometry accuracy of the Template matching method gained from 12 features out of 15 features which pass evaluation result is 0.639.The highest and lowest correlation coefficient are 0.781 and 0.508 respectively.en
dc.format.extent4290569 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1414-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการวิเคราะห์ข้อมูลระยะไกลen
dc.subjectระบบการสร้างภาพen
dc.subjectการกำหนดพิกัดภาพen
dc.subjectRemote sensingen
dc.subjectSynthetic aperture radaren
dc.subjectImage registrationen
dc.titleการกำหนดพิกัดของภาพถ่ายซาร์ความละเอียดสูงกับภาพถ่ายดาวเทียมระบบออปติคัลด้วยวิธีการจับคู่ภาพen
dc.title.alternativeRegistration of high resolution SAR images and optical satellite images by features matching methoden
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineระบบสารสนเทศปริภูมิทางวิศวกรรมes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorthongthit.c@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.1414-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
hataya_yo.pdf4.19 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.