Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27559
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเพียรศิริ วงศ์วิภานนท์
dc.contributor.authorอภินันท์ เชื้อไทย
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2012-12-11T18:24:02Z
dc.date.available2012-12-11T18:24:02Z
dc.date.issued2529
dc.identifier.isbn9745632732
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27559
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2529en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้มีจุดประสงค์ที่จะศึกษาลักษณะการปรากฏของอนุประโยคบอกความใหม่ในตำแหน่งต้นประโยคในภาษาไทย อนุประโยคบอกความใหม่ ได้แก่ อนุประโยคที่มีคำว่า ว่า เป็นคำนำหน้าอนุประโยค และเป็นอุปประโยคที่บอกเนื้อความที่ผู้พูดมีสมมติฐานว่า ผู้ฟังไม่เคยรู้มาก่อนหรือไม่ได้นึกถึงอยู่ในขณะนั้น ในการวิจัยนี้ผู้วิจัยได้อาศัยแนวทฤษฎีไวยากรณ์ปริวรรตแปรรูป (Generative Transformational Framework) ที่ โนม ซอมสกี้ (Noam Chomsky) ได้เสนอไว้ในหนังสือ Aspects of the Theory of Syntax (1965) ผลการศึกษาอาจสรุปได้ว่า ผู้พูดซึ่งเป็นเจ้าของภาษาไทยเองมีความเห็นต่างกันในเรื่องความเป็นไปได้ในการปรากฏต้นประโยคของอนุประโยคบอกความใหม่ แต่อย่างไรก็ตาม ในงานวิจัยนี้ถือว่าการปรากฏต้นประโยคของอนุประโยคบอกความใหม่เป็นการย้ายตำแหน่งของอนุประโยคบอกความใหม่จากตำแหน่งหลังกริยาหลักมาอยู่ในตำแหน่งต้นประโยค และเป็นการย้ายอย่างมีเงื่อนไข กล่าวคือ ปรากฏการณ์นี้มิใช่ว่าจะเกิดได้ทุกประโยค ปัจจัยที่มีส่วนสัมพันธ์กับการย้ายนี้มีทั้งปัจจัยทางวากยสัมพันธ์ และอรรถศาสตร์ ปัจจัยทางวากยสัมพันธ์ ได้แก่ ประเภทของกริยาหลัก และส่วนประกอบของกริยาหลักในโครงสร้างผิว ปัจจัยทางอรรถศาสตร์ ได้แก่ ความหมายของกริยาหลักและคุณสมบัติในการบอกความใหม่ของอนุโยคบอกความใหม่
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this thesis is to study the occurrence of the assertive clause in the initial position of sentences in Thai, within the Generative Transformational Framework proposed by Noam Chomsky in Aspects of the Theory of Syntax (1965). It examine the conditions under which assertive clauses are permitted in the sentence-initial position. The study shows that native speakers differ in their opinion as to the possibility of the occurrence of assertive clauses in the sentence initial position. In this study this phenomenon is accounted for the preposing of assertive clauses which is subject to 2 factors : syntactic and semantics. Synatic factors involve the types of main verb and main verb modification. Semantic factors have to do with the meaning of main verb and the assertive property of the assertive clause.
dc.format.extent376680 bytes
dc.format.extent472757 bytes
dc.format.extent665766 bytes
dc.format.extent964492 bytes
dc.format.extent561086 bytes
dc.format.extent330695 bytes
dc.format.extent572724 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleอนุประโยคบอกความใหม่ที่อยู่ต้นประโยคในภาษาไทยen
dc.title.alternativeAssertive clause preposing in Thaien
dc.typeThesises
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineภาษาศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Apinun_Ch_front.pdf367.85 kBAdobe PDFView/Open
Apinun_Ch_ch1.pdf461.68 kBAdobe PDFView/Open
Apinun_Ch_ch2.pdf650.16 kBAdobe PDFView/Open
Apinun_Ch_ch3.pdf941.89 kBAdobe PDFView/Open
Apinun_Ch_ch4.pdf547.94 kBAdobe PDFView/Open
Apinun_Ch_ch5.pdf322.94 kBAdobe PDFView/Open
Apinun_Ch_back.pdf559.3 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.