Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27626
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพาสวดี ประทีปะเสน
dc.contributor.authorอรนุช ว่องพิริยพงศ์
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2012-12-13T10:17:42Z
dc.date.available2012-12-13T10:17:42Z
dc.date.issued2538
dc.identifier.isbn9746313983
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27626
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538en
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้คือศึกษาภาวะที่เหมาะสมในการผลิตบีต้า-ลิมิต เดกซ์ทรินจากแป้งถั่วเขียว โดยการย่อยแป้งด้วยแอลฟา-อะไมเลสและบีต้า-อะไมเลสเพื่อให้ได้บีต้า-ลิมิต เดกซ์ทรินที่มีน้ำหนักโมเลกุลเฉลี่ยต่างๆ และศึกษาสมบัติทางเคมีและกายภาพของบีต้า-ลิมิต เดกซ์ทรินที่ผลิตได้ รวมทั้งศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะการไหลกับน้ำหนักโมเลกุลเฉลี่ยของบีต้า-ลิมิต เดกซ์ทริน จากการทดลองพบว่าภาวะที่เหมาะสมในการย่อยแป้งถั่วเขียวด้วยแอลฟา-อะไมเลสในขั้นตอนลิเคอแฟคชัน คือ ค่าความเป็นกรด-ด่าง 5.0 และอุณหภูมิ 90 องศาเซลเซียส และภาวะที่เหมาะสมในการย่อยแป้งถั่วเขียวด้วยบีต้า-อะไมเลสในขั้นตอนแซคคาริฟิเคชัน คือ ค่าความเป็นกรด-ด่าง 5.5 อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส อัตราส่วนของบีต้า-อะไมเลสต่อแป้งแห้งเป็น 12.86 KU ต่อ 100 กรัม และเวลา 48 ชั่วโมง ในการทดลองผลิตบีต้า-ลิมิต เดกซ์ทรินโดยการย่อยสารแขวนลอยแป้งถั่วเขียวซึ่งมีความเข้มข้น 20 กรัมต่อลิตร ด้วยแอลฟา-อะไมเลสที่ภาวะข้างต้นเป็น 30 นาที โดยใช้อัตราส่วนของแอลฟา-อะไมเลสต่อแป้งแห้ง 3.32, 6.64, 9.96, 13.28 และ 16.60 KNU ต่อ 100 กรัม แล้วนำลิเคอไฟสตาร์ชที่ได้มาย่อยต่อด้วยบีต้า-อะไมเลสที่ภาวะข้างต้น แล้วนำเดกซ์ทรินผลสมที่ได้ไปไดแอลิซิสที่ molecular weight cut off 12,000 ได้บีต้า-ลิมิต เดกซ์ทรินที่มีน้ำหนักโมเลกุลเฉลี่ยเป็น 277363, 23588, 22645, 17783 และ 17738 ค่าสมมูลเดกซ์โตรส 11.50, 11.90, 11.80, 13.90 และ 13.40 intrinsic viscosity 11.39, 9.70, 8.89, 7.62 และ 7.33 มิลลิลิตรต่อกรัม ตามลำดับ ปริมาณบีต้า-ลิมิต เดกซ์ทรินที่ผลิตได้คือร้อยละ 20 ถึง 30 โดยน้ำหนักแห้ง สารละลายบีต้า-ลิมิต เดกซ์ทรินซึ่งมีความเข้มข้น 10 กรัมต่อเดซิลิตร ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียสมีลักษณะการไหลแบบ Bingham plastic ซึ่งมีค่า yield stress 703.28, 16.87, 261.91, 165.77 และ 143.59 mPa. และดรรชนีความหนืด 6.69, 3.50, 3.41, 2.79 และ 2.53 mPa.s สำหรับบีต้า-ลิมิต เดกซ์ทรินซึ่งมีน้ำหนักโมเลกุลเฉลี่ยเป็น 277363, 23588, 22645, 17783 และ 17738 ตามลำดับ
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were 1) to determine the optimum condition for the production of β-limit dextrin having various average molecular weights from mung bean starch by using α- and β-amylase, 2) to study the chemical and physical properties of the β-limit dextrin and 3) to study the relationship between the flow behavior and average molecular weight of β-limit dextrin. The results showed that the optimum condition of mung bean starch hydrolysis by α- amylase in liquefaction stage was pH of 5.0 and temperature of 90°C and that by β-amylase in saccharification stage was pH of 5.5, temperature of 60°C and the ratio of β-amylase to dry starch of 12.86 KU/100 grams for 48 hours. There conditions were used for β-limit dextrin production. To produce β-limit dextrin, 20 g/dl mung bean starch suspension was liquefied with α- amylase and for 30 minutes using the ratio of α- amylase to dry starch of 3.32, 6.64, 9.96, 13.28 and 16.60 KNU to 100 grams. Then, the liquefied starch was saccharified with β-amylase resulting in dextrin mixture. To obtain β-limit dextrin, the dextrin mixture was dialyzed at molecular weight cut off 12,000. The β-limit dextrin had the number average molecular weight of 277363, 23588, 22645, 17784 and 17738, the dextrose equivalent of 11.50, 11.90, 11.80, 13.90 and 13.40 and the intrinsic viscosity 11.39, 9.70, 8.89, 7.62 and 7.33 ml/g, respectively. The yield of β-limit dextrin was 20-30% on dry basis. At 25°C, the 10 g/dl β-limit dextrin solution was found to be Bingham plastic fluid having the yield stress of 703.28, 316.87, 216.91, 165.77 and 143.59 mPa. And the viscosity index of 6.69, 3.50, 3.41, 2.79 and 2.53 mPa.s for the number average molecular weight of 277363, 23588, 22645, 17783 and 17738, respectively.
dc.format.extent495990 bytes
dc.format.extent276351 bytes
dc.format.extent620632 bytes
dc.format.extent472061 bytes
dc.format.extent974843 bytes
dc.format.extent245794 bytes
dc.format.extent924832 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการผลิตบีต้า-ลิมิต เดกซ์ทรินจากแป้งถั่วเขียวen
dc.title.alternativeProduction of B-limit dextrin from mung bean starchen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีทางอาหารes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Oranuch_Wo_front.pdf484.37 kBAdobe PDFView/Open
Oranuch_Wo_ch1.pdf269.87 kBAdobe PDFView/Open
Oranuch_Wo_ch2.pdf606.09 kBAdobe PDFView/Open
Oranuch_Wo_ch3.pdf461 kBAdobe PDFView/Open
Oranuch_Wo_ch4.pdf952 kBAdobe PDFView/Open
Oranuch_Wo_ch5.pdf240.03 kBAdobe PDFView/Open
Oranuch_Wo_back.pdf903.16 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.